โรงเรือนเลี้ยงพืช สัตว์และการจัดการของเสีย

Greenhouse Plants and Animal Waste Man

ศึกษาและปฎิบัติเกี่ยวกับโรงเรือนเลี้ยงสัตว์และอุปกรณ์ การวางแผนและการก่อสร้างโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ การกำหนดตำแหน่งและการออกแบบ การจัดการของเสียจากโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ เทคโนโลยีและระบบอัตโนมัติ การขนส่ง และการประเมินต้นทุนการก่อสร้างโรงเรือนเลี้ยงสัตว์
-
ศึกษาและปฎิบัติเกี่ยวกับโรงเรือนเลี้ยงสัตว์และอุปกรณ์ การวางแผนและการก่อสร้างโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ การกำหนดตำแหน่งและการออกแบบ การจัดการของเสียจากโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ เทคโนโลยีและระบบอัตโนมัติ การขนส่ง และการประเมินต้นทุนการก่อสร้างโรงเรือนเลี้ยงสัตว์
                    Study and Practice of  greenhouse plants and animal housing, equipment, livestock farm planning and construction, location and layout, waste management, new technologies and automatic systems, transportation and cost estimation of animal housing construction.
1
(1) ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม     1. มีคุณธรรมและจริยธรรม 2. มีวินัย ตรงต่อเวลา 3. มีความขยันและอดทน 4. มีความเป็นไทย
  (2) กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม     1. เน้นให้มีการสอดแทรกคุณธรรม และจริยธรรม ในเนื้อหาวิชาเรียน 2. ความมีวินัย ตรงต่อการเข้าชั้นเรียน 3. ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 4. ปริมาณการลอกการบ้านหรือทำทุจริตในการสอบ 5. บูรณาการรายวิชาโดยสอดแทรกความเป็นไทยในเนื้อหาวิชาเรียน
(3) กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม   1. ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษา โดยวิธีสังเกต หรือจากผู้เกี่ยวข้อง 2. ประเมินจากการเข้าชั้นเรียน และหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 3. ประเมินจากปริมาณการลอกการบ้านหรือทำทุจริตในการสอบ 4. ประเมินจากการกิจกรรมในชั้นเรียนหรือนอกชั้นเรียน
  (1) ผลการเรียนรู้ด้านความรู้     1. มีความรู้ตามหลักวิชาการ ทฤษฎีที่สำคัญในรายวิชา 2. มีการแสวงหาความรู้และใฝ่เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 3. วิเคราะห์และเชื่อมโยงความรู้ในศาสตร์หลักไปใช้ในชีวิตประจำวัน
(2) กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้     1. การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ พัฒนาศักยภาพโดยคำนึงถึงความแตกต่างในหลากหลายรูปแบบตามเนื้อหาวิชา เช่น การบรรยาย การบรรยายเชิงปฏิบัติการ 2. การศึกษาเพิ่มเติมด้วยตนเอง 3. บูรณาการความรู้ตามหลักวิชา และทฤษฎีกับชีวิตประจำวัน
(3) กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้ 1. ประเมินการเรียนรู้จากการศึกษาในรายวิชา โดยผ่านการสอบแบบข้อเขียน สอบปฏิบัติการ การทำแบบฝึกหัด การทำรายงาน หรือในลักษณะอื่นๆ ที่สามารถเทียบเคียงกันได้ 2. ประเมินจากการศึกษาดูงานนอกสถานที่
(1) ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา     1. มีทักษะการคิด 2. มีทักษะในการแก้ปัญหา 3. มีทักษะการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องและใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง
2) กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา   1. การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เน้นการสอนแบบแก้ปัญหาในแบบสร้างสรรค์ 2. การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง การสัมมนา การใช้ปัญหาเป็นฐานการศึกษา
(3) กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา   1. ประเมินโดยออกข้อสอบที่นักศึกษาต้องประยุกต์ใช้ความรู้ในการแก้ปัญหา คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ 2. ประเมินจากรายงาน เช่น จากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน 3. ประเมินจากการอภิปรายกลุ่ม
1) ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความสามารถในการรับผิดชอบ     1. มีภาวะเป็นผู้นำและผู้ตาม 2. ร่วมทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม 3. รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 4. มีความสามารถในการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตของตนเองและสิ่งแวดล้อม 5. ปรับตนเองร่วมกับผู้อื่น       
  1. การสอนโดยเน้นการทำงานกลุ่ม 2. ความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย 3. สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ 4. การสอนที่เน้นการจัดทำโครงการเพื่อสาธารณะประโยชน์
1. ประเมินผลการเรียนรู้จากกระบวนการกลุ่ม 2. ประเมินจากความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย 3. ประเมินจากความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และทำงานร่วมกับผู้อื่น 4. ประเมินจากความสำเร็จของการจัดทำโครงการเพื่อสาธารณะประโยชน์  
1. มีทักษะในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
2. มีทักษะในการคิดคำนวณ 3. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1. การสอนที่เน้นการฝึกปฏิบัติ 2. การสอนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 3. การสอนผ่านระบบเครือข่าย 4. การสอนโดยการแก้ไขปัญหาโดยใช้การวิเคราะห์เชิงตัวเลข 5. การศึกษาเพิ่มเติมผ่านระบบสารสนเทศ
. ประเมินผลการเรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติ 2. ประเมินจากผลการเรียนรู้จากการสอนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 3. ประเมินจากผลการเรียนรู้จากการสอนผ่านระบบเครือข่าย 4. ประเมินจากผลการเรียนรู้จากการแก้ไขปัญหาโดยใช้การวิเคราะห์เชิงตัวเลข
.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง 6.2สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ 6.3สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
ปฏิบัติการในห้องทดลอง ปฏิบัติภาคสนาม
1.ประเมินคุณภาพงานที่ได้รับมอบหมาย 2.ทักษะการนำเสนอ การตอบคำถาม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมและจริยธรรม 2. ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGAG505 โรงเรือนเลี้ยงพืช สัตว์และการจัดการของเสีย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2, 2.1, 3.3,4.4 สอบเก็บคะแนนครั้งที่ 1 สอบกลางภาค สอบเก็บคะแนนครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 5 9 13 17 5 20 5 30
2 1.2, 2.1, 3.3,4.4 การปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการ การนำเสนอ โครงงาน ตลอดภาคการศึกษา 10 5 15
3 1.2, 2.1, 3.3,4.4 การตรงต่อเวลา และการให้ความร่วมมือในการอภิปรายกรณีศึกษาในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10
เอกสารประกอบการสอนของอาจารย์ผู้สอนหลัก
เอกสารประกอบการสอนของอาจารย์ผู้สอนหลัก
แหล่งข้อมูลอ้างอิงจากอาจารย์ผู้สอน
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3  แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เรียน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาแลกเปลี่ยนการจัดการเรียนการสอนระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
3.2   การวิจัยในชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจาก      การเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ท่านอื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2  มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชาได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ