กลศาสตร์วัสดุพื้นฐานในงานเครื่องจักรกลเกษตร

Basic Material Mechanics for Agricultural Machinery

1. สามารถเลือกใช้และแบ่งประเภทวัสดุได้ถูกต้องกับการใช้งาน
2. เข้าใจความเค้น ความเครียด การเปลี่ยนแปลงรูปร่าง การบิด แรงเฉือนและโมเมนต์ดัด
3. เข้าใจการเชื่อมต่อแบบหมุดเกลี่ยว หมุดย้ำ และการเชื่อม
4. เข้าใจการออกแบบคาน เพลา และเสาค้ำยัน
เพื่อให้ทันต่อสถานการณ์ปัจจุบัน และเทคโนโลยีด้านวัสดุ
ศึกษาเกี่ยวกับเลือกใช้วัสดุและการแบ่งประเภทให้ถูกต้องกับการใช้งาน ความเค้นและความเครียด การเปลี่ยนแปลงรูปร่าง การบิด แรงเฉือนและโมเมนต์ดัด การเชื่อมต่อแบบหมุดเกลียว หมุดย้ำ และการเชื่อม คาน เพลา และเสาค้ำยัน เลือกใช้วัสดุและการแบ่งประเภทให้ถูกต้องกับการใช้งาน
2 ชั่วโมง
สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้เครื่องจักรกลเกษตรต่อบุคคล องค์กรและสังคม
บรรยายในชั้นเรียน
สังเกตุพฤติกรรม
มีความเข้าใจในหลักทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหารายวิชา
บรรยายและฝึกทักษะการคำนวณและประเมินผล
สอบเก็บคะแนน
คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
บรรยายในชั้นเรียน ฝึกทักษะการคำนวณและประเมินผล
สอบเก็บคะแนน
มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง คุณสมบัติต่าง ๆ นี้สามารถวัดระหว่างการทํากิจกรรรมร่วมกัน
บรรยายในชั้นเรียน
สังเกตพฤติกรรมและประเมินทักษะการทำงานร่วมกันในชั้นเรียน
สามารถแนะนําประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดง สถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค
บรรยายในชั้นเรียนและนำเสนองานในชั้นเรียน
สังเกตุพฤติกรรมและสอบเก็บคะแนน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 5. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 6. สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้เครื่องจักรกลเกษตรต่อบุคคลองค์กรและสังคม 7. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 1. ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 2. มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม 3. มีภาวะความเป็นผู้นําและผู้ตาม สามารถทํางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและ ลําดับ ความสําคัญ 4. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความ เป็นมนุษย์ 1. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สําคัญในเนื้อหาสาขาวิชา เครื่องจักรกลเกษตร 2. สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางด้านเครื่องจักรกลเกษตร รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา 3. สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบ องค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบทางด้านเครื่องจักรกลเกษตรให้ตรงตามข้อกําหนด 4. สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวัฒนาการทางด้านเครื่องจักรกลเกษตร รวมทั้งการ นําไปประยุกต์ 5. รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชํานาญทางด้านเครื่องจักรกลเกษตรอย่างต่อเนื่อง 6. มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเครื่องจักรกลเกษตร เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และ เข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ 7. มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์งานทางด้านเครื่องจักรกลเกษตรที่ใช้งานได้จริง 8. สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเครื่องจักรกลเกษตรกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 1. คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ 2. สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อให้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 3. สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 4. สามารถประยุกตความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางด้านเครื่องจักรกลเกษตรได้ อย่างเหมาะสม 1. สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 2. สามารถให้ความช่วยเหลือ และอํานวยความสะดวกเเก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นํา หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทํางาน 3. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นําสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 4. มีความรับผิดชอบในการกระทําของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม 5. สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้ง แสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม 6. มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง คุณสมบัติต่าง ๆ นี้สามารถวัดระหว่างการทํากิจกรรรมร่วมกัน 1. มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จําเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทํางานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2. สามารถแนะนําประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดง สถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ 3. สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการ นําเสนอ อย่างเหมาะสม 4. สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อหรืออย่างเหมาะสม
1 BSCFM106 กลศาสตร์วัสดุพื้นฐานในงานเครื่องจักรกลเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ประเมินพฤติกรรมในชั้นเรียน การทำงานร่วมกัน เข้าชั้นเรียน 1-17 10
2 ทักษะการเรียนรู้และการคำนวณ สอบเก็บคะแนน สอบกลางภาค สอบปลายภาค 1-17 70
3 ทักษะการเรียนรู้และความเข้าใจ รายงาน/การบ้าน/แบบฝึกหัด 1-17 20
ชนะ กสิภาร์. 2546. ความแข็งแรงของวัสดุ. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเนือ.