การร่างภาพแฟชั่น

Drawing for Fashion Design

1.1 เพื่อให้มีทักษะการพัฒนางาน การวาดเพื่อการออกแบบแฟชั่น โครงร่างรูปร่างคน โครงสร้างหุ่นแสดงแบบแฟชั่น 1.2 เพื่อให้มีทักษะการออกแบบงาน ส่วนประกอบของเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย 1.3 เพื่อให้มีทักษะการการระบายสีเพื่อนำเสนองานออกแบบแฟชั่น 1.4 เพื่อให้สามารถประยุกต์งานการวาดเพื่อการออกแบบแฟชั่น สู่การนำเสนอรูปแบบเสื้อผ้าด้วยการวาด  
เพื่อให้เนื้อหาของรายวิชามีความเหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน และเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ นอกจากนี้ยังเป็นพื้นฐานในการสอนทั้งในชั้นเรียน  และเตรียมความพร้อมในการศึกษารายวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการวาดเพื่อการออกแบบแฟชั่น โครงร่างรูปร่างคน โครงสร้างหุ่นแสดงแบบแฟชั่น ส่วนประกอบของเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย การนำเสนอรูปแบบเสื้อผ้าด้วยการวาด และการระบายสีเพื่อนำเสนองานออกแบบแฟชั่น Practice drawing for fashion design, human figures, fashion figures, clothing components, presentation of clothing style by drawing, and coloring for fashion design presentation.  
    3.1 อาจารย์ผู้สอน  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียนทั้งในชั้นเรียน
    3.2 อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาทั้งในชั้นเรียน  อย่างน้อย 1 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์
 
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
1)  ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
2)  มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
1.2.1 บรรยายและสอดแทรกทั้งในชั้นเรียน  เรื่องความซื่อสัตย์ สุจริตทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพทางด้านการร่างภาพแฟชั่น
1.2.2 ฝึกให้นักศึกษารู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม  เปิดโอกาสแสดงทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
1.2.3  ขานชื่อนักศึกษาทั้งในชั้นเรียน  เมื่อเข้าชั้นเรียน ตามกำหนดเวลาของเกณฑ์ที่กำหนดไว้
1.3.1  การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาทั้งในชั้นเรียน  ขณะอยู่ในชั้นเรียนและปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
1.3.2  การตรวจสอบเวลาเรียน และการตรงเวลาของนักศึกษาทั้งในชั้นเรียนและ ในการเข้าชั้นเรียน
1.3.3  ตรวจผลงานการนำเสนอผลงานการนำเสนอการร่างภาพแฟชั่น
1)  รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรมและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
2)  มีความสามารถในการค้นคว้า แก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ
2.2.1 ยกตัวอย่าง และปฏิบัติงานทั้งในชั้นเรียน  โดยใช้…
2.2.2 สาธิตการร่างภาพแฟชั่น ทั้งในชั้นเรียน  แล้ววาดเพื่อการออกแบบแฟชั่น ส่วนประกอบของเสื้อผ้า การระบายสีเพื่อนำเสนองานออกแบบแฟชั่นให้มีความสวยงาม
2.3.1   สอบปฏิบัติกลางภาคและปลายภาคทั้งในชั้นเรียน  จากโจทย์ที่เน้น วาดเพื่อการออกแบบแฟชั่น ส่วนประกอบของเสื้อผ้า การระบายสีเพื่อนำเสนองานออกแบบแฟชั่น
2.3.2   สอบปฏิบัติย่อยระหว่างภาค ทั้งในชั้นเรียน  ในเนื้อหาเกี่ยวกับการวาดเพื่อการออกแบบแฟชั่น ส่วนประกอบของเสื้อผ้า การระบายสีเพื่อนำเสนองานออกแบบแฟชั่น
3)  สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ  และวิชาชีพได้
4)  มีความคิดสร้างสรรค์ และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน 
  3.2.1) สาธิตการปฏิบัติงานวาดเพื่อการออกแบบแฟชั่น ส่วนประกอบของเสื้อผ้า การระบายสีเพื่อนำเสนองานออกแบบแฟชั่น ทั้งในชั้นเรียน  แล้วให้ นักศึกษาบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานงานออกแบบของตนเอง พร้อมนำเสนอ
  3.2.2) สาธิตการปฏิบัติงานวาดเพื่อการออกแบบแฟชั่น ส่วนประกอบของเสื้อผ้า การระบายสีเพื่อนำเสนองานออกแบบแฟชั่น เป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่ม ทั้งในชั้นเรียน แล้วให้นักศึกษา การนำเสนอรูปแบบเสื้อผ้าด้วยการวาด
3.3.1   สอบปฏิบัติงานวาดเพื่อการออกแบบแฟชั่น ส่วนประกอบของเสื้อผ้า การระบายสีเพื่อนำเสนองานออกแบบแฟชั่นทั้งในชั้นเรียน
3.3.2   ผลงานหรือชิ้นงานที่เกิดจากการวาดเพื่อการออกแบบแฟชั่น การปฏิบัติงานของนักศึกษาทั้งในชั้นเรียน
2)  มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
3)  สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง 
4.1.1) มอบหมายงานรายกลุ่ม รูปแบบของรายงาน หรือกิจกรรมกลุ่มทั้งในชั้นเรียน ที่เกี่ยวข้องกับงานการวาดเพื่อการออกแบบแฟชั่น แสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผลในผลงานตนเองและผู้อื่น
4.3.1  ประเมินจากผลงานที่ร่วมกันอภิปราย  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีมทั้งในชั้นเรียน
4.3.2  ประเมินจากรายงานกลุ่ม หรือกิจกรรมกลุ่ม ที่มอบหมายทั้งในชั้นเรียน
1) สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการวาดเพื่อการออกแบบแฟชั่น   หรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 มอบหมายให้นักศึกษาทั้งในชั้นเรียน  ปฏิบัติงานสืบค้นข้อมูลโดยจากอินเตอร์เน็ต และหนังสือด้าน  รวมทั้งสาธิตการนำเสนอผลงานการวาดเพื่อการออกแบบแฟชั่น ทั้งเรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ ให้นักศึกษาค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวลผล
1) ประเมินผลทั้งในชั้นเรียน จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในผลงานปฏิบัติด้านการวาดเพื่อการออกแบบแฟชั่น
2) ประเมินผลทั้งในชั้นเรียน จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการปฏิบัติงานกลุ่ม หรือรายบุคคล
1) สามารถใช้ทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานของตน
6.1.1) สอนปฏิบัติ หรือสาธิตทั้งในชั้นเรียนการวาดเพื่อการออกแบบแฟชั่น โครงร่างรูปร่างคน โครงสร้างหุ่นแสดงแบบแฟชั่น ส่วนประกอบของเสื้อผ้าเครื่องแต่งกายและการระบายสีเพื่อนำเสนองานออกแบบแฟชั่น
ให้นักศึกษาดูเป็นตัวอย่าง
6.1.2) สอนโดยใช้การทำโครงงานที่เน้นการปฏิบัติการวาดเพื่อการออกแบบแฟชั่นในชั้นเรียน  
1) ประเมินผลจากผลงานออกแบบของนักศึกษาที่ทั้งในชั้นเรียน ทำตามตัวอย่างจากคำแนะนำ
2) ประเมินผลจากผลงานออกแบบทั้งในชั้นเรียน ที่ได้จากการทำโครงงานออกแบบที่เน้นการปฏิบัติการวาดเพื่อการออกแบบแฟชั่น
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1
1 BAATJ166 การร่างภาพแฟชั่น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 1.1 สอบปฏิบัติกลางภาค ในชั้นเรียน 1.2 สอบปฏิบัติปลายภาค ในชั้นเรียน 9 17 ร้อยละ 10 ร้อยละ 10
2 3.1 4.1 5.1 2.1 การปฏิบัติงานการร่างภาพแฟชั่นในชั้นเรียน 2.2 การมีส่วนร่วมในกิจกรรมและปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนร่วมชั้นในชั้นเรียน 2.3 ความสามารถในการวิเคราะห์งาน ผลงานการศึกษาค้นคว้า พฤติกรรมการเลือกใช้เทคโนโลยีเพื่อการสืบค้น รวมถึงการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ทั้งในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 70
3 1.1 3.1 สังเกตการเข้าชั้นเรียน / ความตั้งใจในชั้นเรียน 3.2 สังเกตความรับผิดชอบในชั้นเรียน 3.3 สังเกตการแต่งกาย ในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 10
เกสร  สุนทรศรี. งานเสื้อผ้าและการแต่งกาย, 2541.
นวลน้อย บุญวงษ์. หลักการออกแบบ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542
ประเสริฐ พิชยะสุนทร. ศิลปะและการออกแบบเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์
พรสนอง วงศ์สิงห์ทอง. การออกแบบและพัฒนาแฟชั่นและมัณฑนภัณฑ์. กรุงเทพฯ : วิสคอมเซ็นเตอร์, 2550
วิบูลย์ ลี้สุวรรณ. สารานุกรมผ้าและเครื่องถักทอ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, 2550
ทาคามูระ, เซซุ. ศิลปะการออกแบบเสื้อผ้าแฟชั่น. กรุงเทพฯ : ดวงกมล,2553
กีรติญา สอนเนย. การวาดภาพแฟชั่นและการออกแบบเสื่อผ้า. กรุงเทพมหานคร: มิตรสัมพันธ์กราฟฟิค, 2554.
เจียมจิตร เผือกศรี. การออกแบบเสื้อ 1. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ, 2550.
2.1  ภาพตัวอย่างรูปแบบการร่างภาพแฟชั่น
   3.1 ข้อมูลจากสารานุกรมที่เกี่ยวข้องกับงานการร่างภาพแฟชั่น
   3.2 ข้อมูลจากห้องสมุดที่เกี่ยวข้องกับงานออกแบบการร่างภาพแฟชั่น
   3.3 ข้อมูลจากเว็ปไซด์ที่เกี่ยวข้องกับการการร่างภาพแฟชั่น
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาดังนี้คือ
      1.1 การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียนในชั้นเรียน
      1.2 แบบประเมินผลผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัย
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
       2.1   การสังเกตการณ์พฤติกรรมการเรียนของนักศึกษาในชั้นเรียน
       2.2   การอภิปรายของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียนในชั้นเรียน
       2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ในชั้นเรียน
       2.4   การตรวจผลงานของนักศึกษา ที่เป็นผลการปฏิบัติงานเขียนแบบในชั้นเรียน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
     3.1 ทบทวนเนื้อหา และวิธีการสอนในชั้นเรียน ให้สอดคล้องกับเกณฑ์กำหนด
     3.2 หาแนวทาง และวิธีการสอนในชั้นเรียน ที่เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ซึ่งมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนนักศึกษาตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย
4.2  การประเมินผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 6 ด้าน
4.3 การประเมินผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานของนักศึกษาและผลงานตามที่มอบหมาย
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุกปี ตามผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
     5.2   การประชุมกรรมการประจำหลักสูตรในชั้นเรียน เพื่อพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลรายวิชา