สถิติเพื่อการวิจัยทางระบบสารสนเทศ

Statistic for Information System Research

เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจแนวคิดการวิเคราะห์เชิงปริมาณทางระบบสารสนเทศด้วยวิธีการทางสถิติ เพื่อใช้ในการปฏิบัติวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยทางระบบสารสนเทศ เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจวิธีการสุ่มตัวอย่างและกำหนดขนาดตัวอย่างเพื่อการวิจัยทางระบบสารสนเทศ มาตราวัดข้อมูล สถิติเชิงบรรยายที่สำคัญ สถิติเชิงอนุมานเพื่อใช้ในการทดสอบสมมุติฐานทางระบบสารสนเทศ เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจการวิเคราะห์ทางสถิติขั้นสูง และสามารถปฏิบัติการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการวิเคราะห์ทางสถิติ การแปลผลลัพธ์และการจัดทำรายงานผลทางสถิติเพื่อการวิจัยทางระบบสารสนเทศ
เพื่อให้สอดคล้องกับสาระวิชาในกรอบหลักสูตรมาตรฐานด้านคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
       ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับแนวคิดการวิเคราะห์เชิงปริมาณทางระบบสารสนเทศด้วยวิธีการทางสถิติ เพื่อใช้ในการปฏิบัติวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยทางระบบสารสนเทศ วิธีการสุ่มตัวอย่างและกำหนดขนาดตัวอย่างเพื่อการวิจัยทางระบบสารสนเทศ มาตราวัดข้อมูล สถิติเชิงบรรยายที่สำคัญ สถิติเชิงอนุมานเพื่อใช้ในการทดสอบสมมุติฐานทางระบบสารสนเทศ การวิเคราะห์ทางสถิติขั้นสูง ปฏิบัติการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการวิเคราะห์ทางสถิติ การแปลผลลัพธ์และการจัดทำรายงานผลทางสถิติเพื่อการวิจัยทางระบบสารสนเทศ
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
 -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
มาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี
สาขาคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2552 ด้านคุณธรรมจริยธรรม ™ ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต   มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม   มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ   เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์   เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม ™ สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กรและสังคม ˜ มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ ü จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1 ü สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา 1   ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย     กำหนดงานเป็นกลุ่ม เน้นการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม เน้นความมีส่วนร่วม และแสดงความคิดเห็น     เปิดโอกาสให้นักศึกษาจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการมีเมตตา กรุณา ความเสียสละ และการทำประโยชน์ให้กับชุมชน   ü ใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน 6 ü อธิบายระเบียบลงโทษผู้ทุจริตการสอบโดยการสอดแทรกในการสอน 7
 รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ ü การเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1,2   การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย     การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่ มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม   ü การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม และความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน 6   ความเอื้อเฟื้อหรือความมีน้ำใจต่อเพื่อนและครูอาจารย์   ü ปริมาณการกระทำการทุจริตในการสอบ 7   ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย  
มาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี
สาขาคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2552 ด้านความรู้ ˜ มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาที่ศึกษา ˜ สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา   สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่างๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ให้ได้ตรงตามข้อกำหนด ™ สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์   รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง ™ มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้อง ™ มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง   สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ ü 1.  จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะ ของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ 1,2 ü 2.  จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน 1,2,4,6   3.  จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง   ü 4.  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อน               ร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป 1,2,4 ü 5.  ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง 1,2,4,7 ü 6.  การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม – ตอบ 1,2,4
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ ü 1.  การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 1,2,4,5,6   2.  รายงานสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมหรือการนำความรู้ไปตอบในแบบทดสอบ     3.  ผลการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง หรือสถานการณ์จริง   ü 4.  ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสนอ 1,2,4,5,6 ü 5.  ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา 1,2,4,5,6 ü 6.  ประเมินจากการนำเสนอผลงาน 1,2,4,5,6 ü 7.  ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน                     การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้า หน้าชั้นเรียน 1,2,4,5,6
มาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี
สาขาคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2552 ด้านทักษะทางปัญญา ˜ คิดอย่างมีวิจารณญานและอย่างเป็นระบบ ™ สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ™ สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ ˜ สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ   จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการ การเรียนการสอนกับการทำงาน   ü จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และทักษะการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ จากกรณีศึกษา (งานที่ได้รับมอบหมาย) 1,2,3,4   กรณีศึกษาทางการจัดการ โครงงาน งานวิจัย และกำหนดให้นักศึกษาวางแผน การทำงานเป็นทีม   ü การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน 1,2,3,4 ü การมอบหมายงาน การแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง 1,2,3,4 ü การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมในชั้นเรียน และมีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น 1,2,3,4   จัดกิจกรรมที่เสริมสร้างการพัฒนาทักษะทางเชาว์ปัญญา ความคิด การวิเคราะห์ และสังเคราะห์ด้านต่างๆ ทั้งในสาขาและนอกสาขา  
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ   ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา   ü การเลือกใช้ภาษาเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา และสื่อสารในบริบทต่างๆ 2,5,6,7 ü การใช้ภาษาของนักศึกษาในบทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง 2,5,6,7 ü ประเมินจากการนำเสนอโครงงาน รายงานการวิจัย อภิปรายกรณีศึกษา 2,5,6,7 ü การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ โดยออกข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหา อธิบายแนวคิดการแก้ปัญหา และวิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ ที่เรียนมา ซึ่งจะต้องหลีกเลี่ยงข้อสอบที่เป็นการเลือกตอบที่ถูกมาคำตอบเดียวจากกลุ่มคำตอบที่ให้มา 2,5,6,7 ü ประเมินจากการรายงานผลการศึกษาค้นคว้า โครงงาน โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน 2,5,6,7   ประเมินจากกรณีศึกษาหรือสถานการณ์จำลอง     ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา  
มาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี
สาขาคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2552 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ   สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนหลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ™ สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน ˜ สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้แนะสังคมในประเด็นที่เหมาะสม ™ มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบในงานกลุ่ม   สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม   มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ   สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่างๆ ในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง     จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม   ü จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและการอภิปรายเพื่อหาข้อสรุป 2,3,4   มอบหมายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคมร่วมกับอาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง   ü มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสาร การติดต่อประสานงานกับบุคคล อื่นๆ ทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา 2,3,4   มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ  
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ   การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค   ü พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา 3,5   พฤติกรรมและผลการประเมินการให้บริการวิชาการของนักศึกษา   ü การรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา 3,5   พฤติกรรม ภาวการณ์เป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดี   ü สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง 3,5 ü สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน และจากการรายงานหน้าชั้นเรียน 3,5   ใช้ผลการประเมินจากการฝึกงานและการสหกิจศึกษา  
มาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี
สาขาคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2552 ด้านการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ˜ มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ˜ สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือ การแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ ˜ สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน พร้อมทั้งเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนอได้อย่างเหมาะสม   สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ ü สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร การค้นคว้าข้อมูล และการนำเสนอผลงานในเนื้อหาของรายวิชาที่เกี่ยวข้อง 1 ü จัดกิจกรรมให้นักศึกษาใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ จากกรณีศึกษา 1,2   จัดให้นักศึกษาได้ฝึกใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารในสถานการณ์และวัฒนธรรมที่หลากหลาย     จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม     ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในสถานการณ์ต่างๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข ได้   ü มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 1,2,3
รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ   การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค   ü ผลงานของนักศึกษาจากงานที่มอบหมายให้แต่ละบุคคล และเลือกการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม 1,2,6 ü พฤติกรรม การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และความสามารถในการใช้ภาษาการสื่อสาร ของนักศึกษาเพื่อสื่อสาร 1,2,6 ü ประเมินจากการอธิบายหลักการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 1,2,6   ประเมินจากการสรุป และอภิปรายงาน/กิจกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ตัวเลข ซึ่งได้รับมอบหมายร่วมกัน  
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1,2,3,4 ผลงานการออกแบบกรอบแนวคิดงานวิจัย (Conceptual Framework) 3 10%
2 1,2,3,4 ผลงานการทบทวนวรรณกรรม 5 10%
3 1,2,3,4 ผลงานการกำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 7 5%
4 1,2,3,4,5 ผลงานการเก็บรวบรวมข้อมูล 10 5%
5 1,2,3,4,5 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลและการเขียนรายงาน ผลการวิจัย 12-14 10%
6 1,2,3,4,5 เล่มรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์และการน าเสนองานวิจัย ฉบับสมบูรณ์ 16 20%
7 1,2,3,4,5 สอบปลายภาค 17 30%
เอกสารประกอบการสอน สถิติเพื่อการวิจัยทางระบบสารสนเทศ
การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วยคอมพิวเตอร์. ศิริชัย พงษ์วิชัย. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. 2558.
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับบทความวิจัยด้านระบบสารสนเทศในฐานข้อมูล TCI
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ