โครงงานวิศวกรรมโยธา
Civil Engineering Project
1.1 เพื่อให้นักศึกษาได้บูรณาการองค์ความรู้ทางวิศวกรรมโยธาจากทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ในการวางแผนโครงการ และดำเนินโครงการได้อย่างมีระบบวิธีวิจัย ภายใต้การควบคุมของอาจารย์ที่ปรึกษาและอาจารย์ประจำวิชา
1.2 เพื่อให้นักศึกษามีผลการเรียนรู้ตามที่ระบุไว้ในหลักสูตร
1.2 เพื่อให้นักศึกษามีผลการเรียนรู้ตามที่ระบุไว้ในหลักสูตร
-ไม่มี-
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับการทบทวนชื่อโครงงาน ความเป็นมาของปัญหา วัตถุประสงค์ ขอบเขต ตามหัวข้อโครงงานในรายวิชา ENGCV802 การเตรียมโครงงานวิศวกรรมโยธา ศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง แนวทางการแก้ปัญหาปฏิบัติการตามขั้นตอนและแผนการดำเนินงาน รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผล จัดทำรายงาน และนำเสนอโครงงานต่อคณะกรรมการสอบโครงงาน
- อาจารย์ประจำรายวิชาจัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการทั้งโดยตรงและระบบออนไลน์ที่ถูกกำหนดไว้อาจารย์ประจำวิชา
- อาจารย์ให้คำปรึกษาตามตารางนัดหมายที่ระบุไว้ในตารางสอน โดยผ่านทางอีเมล์ หรือระบบออนไลน์ที่ได้ถูกกำหนดไว้โดยอาจารย์ผู้สอน
- อาจารย์ให้คำปรึกษาตามตารางนัดหมายที่ระบุไว้ในตารางสอน โดยผ่านทางอีเมล์ หรือระบบออนไลน์ที่ได้ถูกกำหนดไว้โดยอาจารย์ผู้สอน
1.1.1 เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.4 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพและมีความรับผิดชอบในฐานะ ผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.4 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพและมีความรับผิดชอบในฐานะ ผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1.2.1 ตรวจสอบการเข้าเรียนทุกครั้ง และการส่งรายงานประจำสัปดาห์
1.2.2 ปลูกฝังและส่งเสริมให้มีความเป็นผู้นำกลุ่มและผู้ตามที่ดี มีความสามัคคีในการทำงาน
1.2.3 สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบและจรรยาบรรณวิชาชีพและวิชาการ และส่งเสริมให้นักศึกษาตระหนักในคุณค่าระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต
1.2.4 กำหนดความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1.3.1 พิจารณาจากความตรงต่อเวลาในการเข้าเรียน และการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย
1.3.2 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ
1.3.3 ตรวจสอบจำนวนการกระทำผิดทางด้านวินัยในช่วงที่เข้าเรียน และปริมาณการกระทำทุจริตในรายงาน
1.3.4 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1.3.2 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ
1.3.3 ตรวจสอบจำนวนการกระทำผิดทางด้านวินัยในช่วงที่เข้าเรียน และปริมาณการกระทำทุจริตในรายงาน
1.3.4 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้งานกับด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านวิศวกรรม
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม
2.1.5 สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านวิศวกรรม
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม
2.1.5 สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
2.2.1 มอบหมายให้นักศึกษากำหนดกรณีศึกษา และเก็บข้อมูลจากที่เกี่ยวข้องโดยสัมภาษณ์กับผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ที่มีประสบการณ์ตรง
2.2.2 บรรยายพร้อมมอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.2.3 บรรยายวิธีการเขียนรายงาน การเขียนอภิปราย และการเขียนเชิงเปรียบเทียบ
2.2.4 มอบหมายให้เสนอวิธีการแก้ไขปัญหา และจัดทำโครงงาน ส่งตามเวลาที่กำหนด
2.2.2 บรรยายพร้อมมอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.2.3 บรรยายวิธีการเขียนรายงาน การเขียนอภิปราย และการเขียนเชิงเปรียบเทียบ
2.2.4 มอบหมายให้เสนอวิธีการแก้ไขปัญหา และจัดทำโครงงาน ส่งตามเวลาที่กำหนด
2.3.1 การทดสอบย่อย
2.3.2 การสอบปกป้องต่อหน้าคณะกรรมการสอบปากเปล่า
2.3.3 ประเมินจากคุณภาพและความถูกต้องของรายงาน และโครงงานที่ได้จัดทำ
2.3.4 ประเมินจากรายงานและโครงงานที่ที่นำเสนอ
2.3.2 การสอบปกป้องต่อหน้าคณะกรรมการสอบปากเปล่า
2.3.3 ประเมินจากคุณภาพและความถูกต้องของรายงาน และโครงงานที่ได้จัดทำ
2.3.4 ประเมินจากรายงานและโครงงานที่ที่นำเสนอ
3.1.1 มีความความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.1.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเองเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.1.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเองเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
3.2.1 บรรยายแนะนำการค้นคว้าและการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับกรณีศึกษา
3.2.2 มอบหมายให้นักศึกษาสรุปความรู้ที่ได้จากการทบทวนทฤษฎีและงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ใหม่
3.2.3 มอบหมายงานให้นักศึกษาหาข้อมูลจากการปฏิบัติงานจริง เพื่อใช้ประกอบในการเขียนโครงงาน
3.2.4 ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันอภิปรายผลงานของนักศึกษาที่นำเสนอ
3.2.2 มอบหมายให้นักศึกษาสรุปความรู้ที่ได้จากการทบทวนทฤษฎีและงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ใหม่
3.2.3 มอบหมายงานให้นักศึกษาหาข้อมูลจากการปฏิบัติงานจริง เพื่อใช้ประกอบในการเขียนโครงงาน
3.2.4 ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันอภิปรายผลงานของนักศึกษาที่นำเสนอ
3.3.1 พิจารณาจากประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับของโครงงาน
3.3.2 พิจารณาจากความถูกต้องและความเป็นไปได้ในการจัดทำโครงงานฉบับสมบูรณ์
3.3.3 พิจารณาจากการนำเสนอความคิดสร้างสรรค์ในการเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา
3.3.2 พิจารณาจากความถูกต้องและความเป็นไปได้ในการจัดทำโครงงานฉบับสมบูรณ์
3.3.3 พิจารณาจากการนำเสนอความคิดสร้างสรรค์ในการเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา
4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคัมได้ในประเด็นที่เหมาะสม
4.1.2 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่างๆ
4.1.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1.4 รู้จักบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามรถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
4.1.5 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
4.1.2 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่างๆ
4.1.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1.4 รู้จักบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามรถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
4.1.5 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
4.2.1 กำหนดกิจกรรมให้นักศึกษาทำงานร่วมกันในกลุ่ม เพื่อให้นำเสนอโครงงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.2.2 กำหนดให้นักศึกษามีการวางแผนการทำงาน และกำหนดบทบาทของตนเพื่อทำให้งานที่ได้รับมอบหมายดำเนินการเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
4.2.3 ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่มตามที่ได้รับมอบหมาย และสามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปติดต่อประสานงานได้
4.2.4 ปลูกฝังให้นักศึกษามีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
4.2.5 สร้างจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงานและรักษาสภาพแวดล้อมต่อไป
4.2.2 กำหนดให้นักศึกษามีการวางแผนการทำงาน และกำหนดบทบาทของตนเพื่อทำให้งานที่ได้รับมอบหมายดำเนินการเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
4.2.3 ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่มตามที่ได้รับมอบหมาย และสามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปติดต่อประสานงานได้
4.2.4 ปลูกฝังให้นักศึกษามีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
4.2.5 สร้างจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงานและรักษาสภาพแวดล้อมต่อไป
4.3.1 ประเมินจากพฤติกรรมการมีส่วนร่วม การนำเสนอผลงาน การอภิปราย และการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน
4.3.2 พิจารณาจากพฤติกรรมการจัดและแบ่งงานในแต่ละกลุ่ม และคุณภาพของงานที่นักศึกษาแต่ละคนได้รับผิดชอบ
4.3.3 ประเมินจากผลงานที่สมาชิกในกลุ่มได้รับผิดชอบและจัดทำ
4.3.2 พิจารณาจากพฤติกรรมการจัดและแบ่งงานในแต่ละกลุ่ม และคุณภาพของงานที่นักศึกษาแต่ละคนได้รับผิดชอบ
4.3.3 ประเมินจากผลงานที่สมาชิกในกลุ่มได้รับผิดชอบและจัดทำ
5.1.1 มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี
5.1.2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
5.1.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
5.1.4 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
5.1.5 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรมได้อย่างถูกต้อง
5.1.2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
5.1.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
5.1.4 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
5.1.5 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรมได้อย่างถูกต้อง
5.1.1 อธิบายและมอบหมายให้นักศึกษามีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพมาใช้ในการแปลความหมาย รวมทั้งการเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหา
5.2.2 มอบหมายการสร้างเอกสารประกอบการนำเสนอ และเปิดโอกาสให้นักศึกษานำเสนอโครงงานโดยมีรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.2 มอบหมายการสร้างเอกสารประกอบการนำเสนอ และเปิดโอกาสให้นักศึกษานำเสนอโครงงานโดยมีรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากความถูกต้องของการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมโยธา
5.3.2 ประเมินจากการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี และผลสัมฤทธิ์ในการนำเสนอ
5.3.2 ประเมินจากการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี และผลสัมฤทธิ์ในการนำเสนอ
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
6.2.1 กำหนดให้นักศึกษาปฏิบัติตามแผนที่ได้วางไว้ และให้ส่งงานที่มอบหมายเป็นระยะ
6.2.2 สาธิตการปฏิบัติโดยผู้เชี่ยวชาญ
6.2.3 สนับสนุนการเข้าร่วมกิจกรรมทางวิศวกรรมโยธากับหน่วยงานภายในและภายนอก
6.2.2 สาธิตการปฏิบัติโดยผู้เชี่ยวชาญ
6.2.3 สนับสนุนการเข้าร่วมกิจกรรมทางวิศวกรรมโยธากับหน่วยงานภายในและภายนอก
6.3.1 ประเมินจากพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
6.3.2 ประเมินจากผลการทำงานในภาคปฏิบัติ
6.3.3 ประเมินโครงงานที่นำเสนอโดยพิจารณาจาก การส่งงานที่มอบหมายตรงเวลา และความถูกต้องของงานที่ได้รับมอบหมาย
6.3.2 ประเมินจากผลการทำงานในภาคปฏิบัติ
6.3.3 ประเมินโครงงานที่นำเสนอโดยพิจารณาจาก การส่งงานที่มอบหมายตรงเวลา และความถูกต้องของงานที่ได้รับมอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรม จริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6. ทักษะพิสัย | |||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 |
1 | ENGCV803 | โครงงานวิศวกรรมโยธา |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 4.1, 4.2, 4.3, 4.4, 5.1, 6.1, 6.2 | - รายงานที่ได้รับมอบหมาย และปริญญานิพนธ์ ฉบับสมบูรณ์ | 1-18 | 10% |
2 | 2.2, 2.3, 2.4, 2.5, 3.1, 3.2, 3.3, 3.4, 3.5 | - ผลการสอบปากเปล่าต่อคณะกรรมการ ได้จาก (1)ความถูกต้องของปริญญานิพนธ์ 50 % (2) การนำเสนอ 50 % (3) การตอบคำถาม 20 % (4) การใช้ประโยชน์ของผลงาน 10% | 15 | 60% |
3 | 1.1 ,1.2, 1.3, 1.4, 1.5 | - การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมอภิปราย การเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน และพฤติกรรมในช่วงที่เข้าเรียน | 1-18 | 10% |
4 | 6.1, 6.2 | - รายงานความก้าวหน้าทุกสัปดาห์เกี่ยวกับผลการปฏิบัติโดยผ่านการรับรองจากอาจารย์ที่ปรึกษา - ผลประเมินการปฏิบัติงานจาก เพื่อนร่วมกลุ่มโครงงาน | 1-18 | 20% |
1. กัณวริช พลูปราชญ์ (2555) วิธีการวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ : ท้อป, 322 หน้า
2. ทวีชัย กาฬสินธุ์ (2561) เอกสารประกอบการสอนวิชาการโครงงานทางวิศวกรรมศาสตร์, สาขาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
3. รายละเอียดการจัดทำปริญญานิพนธ์สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
4. สมุดติดตามรายงานความก้าวหน้าประจำสัปดาห์ การโครงงาน ภาคการเรียนที่ 1/2564
2. ทวีชัย กาฬสินธุ์ (2561) เอกสารประกอบการสอนวิชาการโครงงานทางวิศวกรรมศาสตร์, สาขาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
3. รายละเอียดการจัดทำปริญญานิพนธ์สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
4. สมุดติดตามรายงานความก้าวหน้าประจำสัปดาห์ การโครงงาน ภาคการเรียนที่ 1/2564
1. ตัวอย่างปริญญานิพนธ์สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
1. เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา ตัวอย่างเช่น
http://dcms.thailis.or.th/dcms/index.php
http://www.find-docs.com/index.php
http://www.eit.or.th/ejournal.php?siteid=0&option=ejournal&lang=th
http://www.cpacacademy.com/
http://library.cmu.ac.th/digital_collection/etheses/searching.php
2. ฐานข้อมูลและสื่อออนไลน์ที่มหาวิทยาลัยได้จัดเตรียมให้ Access Engineering, ScienceDirect, EBSCO Discovery Service Plus Full Text, ProQuest Dissertation & Theses, ThaiLis, ThaiJo
http://dcms.thailis.or.th/dcms/index.php
http://www.find-docs.com/index.php
http://www.eit.or.th/ejournal.php?siteid=0&option=ejournal&lang=th
http://www.cpacacademy.com/
http://library.cmu.ac.th/digital_collection/etheses/searching.php
2. ฐานข้อมูลและสื่อออนไลน์ที่มหาวิทยาลัยได้จัดเตรียมให้ Access Engineering, ScienceDirect, EBSCO Discovery Service Plus Full Text, ProQuest Dissertation & Theses, ThaiLis, ThaiJo
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษา ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่าน e-mail address หรือระบบออนไลน์ของอาจารย์ผู้สอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 พิจารณาปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัย และตามคำแนะนำจากผู้ที่เกี่ยวข้อง
3.2 ประชุมเพื่อการจัดการเรียนการสอนเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดในภาคการเรียนก่อนหน้า
3.3 ใช้ระบบออนไลน์เพื่อสอบถาม และประมวลผล ผลการเรียนของนักศึกษา รวมทั้งหาแนวทางในการปรับปรุงลักษณะรายวิชาในภาคการเรียนต่อไป
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจาก ผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชา ดังนี้
4.1 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์
5.2 ส่งเสริมและสนับสนุนทั้งทางด้านทรัพยากรที่จำเป็น ให้อาจารย์ประจำวิชาทำวิจัยในศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับวิชาที่ได้รับมอบหมายให้สอน