ภาษาและวัฒนธรรม
Language and Culture
1Understand the concept of language and culture and their interconnection.
2. Explore the relationship between language and culture in different English-speaking regions.
3. Analyze the impact of cultural factors on language use and communication in diverse contexts.
4. Develop intercultural communication skills and cultural sensitivity in English communication.
5. Recognize and appreciate cultural diversity within English-speaking communities.
พัฒนารายวิชาเพื่อปูพื้นฐานความรู้ความเข้าใจในด้านความสัมพันธ์ของภาษาอังกฤษกับวัฒนธรรม
ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรม ในบริบทสังคม แต่ละภูมิภาคที่ใช้ภาษาอังกฤษ และผลที่มีต่อการสื่อสารภาษาอังกฤษ
Relationship between language and culture in social context of each English-speaking region and its influence on English communication
Relationship between language and culture in social context of each English-speaking region and its influence on English communication
วันจันทร์ และวันศุกร์ เวลา 13.00-16.00 น.
1. มีทัศนคติที่ดี เคารพศักดิ์ศรีและคุณค่าความเป็นมนุษย์
2. มีวินัย ตรงต่อเวลา และปฏิบัติตามวัฒนธรรมองค์กรที่ดี
3. มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
สอดแทรกลงไปยังเนื้อหาวิชา
สังเกตการณ์
บันทึกการเข้าห้องเรียนและการส่งงาน
3 เปรียบเทียบการใช้ภาษาอังกฤษในวัฒนธรรมที่หลากหลาย
6 ตีความ วิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความคิดเห็นด้านภาษาและวัฒนธรรมอย่างสร้างสรรค์
7 ประเมินความเหมาะสมของการใช้วัจนภาษา และอวัจนภาษาเพื่อสื่อสารในบริบทวัฒนธรรม ข้ามชาติได
(1) จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะ ของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ
(2) จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง และสถานการณ์จำลอง
(3) จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยการศึกษาดูงาน หรือการเชิญผู้เชี่ยวชาญ มาเป็นวิทยากรให้ความรู้
(4) มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนร่วม ชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป
(5) ศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติมด้วยตนเองโดยใช้เทคโนโลยีเพื่อการค้นคว้า หาความรู้และ การเรียนรู้ออนไลน์ในรูปแบบต่างๆ
(2) จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง และสถานการณ์จำลอง
(3) จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยการศึกษาดูงาน หรือการเชิญผู้เชี่ยวชาญ มาเป็นวิทยากรให้ความรู้
(4) มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนร่วม ชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป
(5) ศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติมด้วยตนเองโดยใช้เทคโนโลยีเพื่อการค้นคว้า หาความรู้และ การเรียนรู้ออนไลน์ในรูปแบบต่างๆ
(1) สอบกลางภาคและปลายภาค โดยใช้การสอบข้อเขียน และการสอบปากเปล่า (2) ทดสอบย่อยและการสอบปฏิบัติตามจุดประสงค์การเรียนรู้ในรายวิชา (3) การนำเสนอผลงานและการเขียนรายงานรายบุคคล รายคู่ และรายกลุ่ม (4) การสังเกตจากการอภิปรายกลุ่มและแสดงความคิดเห็น
(2) มีทักษะในการนำความรู้มาประยุกต์และปรับเปลี่ยนตามวัฒนธรรมสากล
(1) จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติผ่านทางบทบาทสมมุติในสถานการณ์จำลอง (2) การระดมสมองและอภิปรายโต้แย้งในหัวข้อที่กำหนด
(1) ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและผลการปฏิบัติของนักศึกษา
(2) ประเมินและติดตามกระบวนการปฏิบัติงาน
(3) จัดการสัมมนา การอภิปรายกลุ่มและแสดงความคิดเห็น
(4) การประเมินตนเอง และการประเมินโดยเพื่อนร่วมชั้นเรียน
(2) ประเมินและติดตามกระบวนการปฏิบัติงาน
(3) จัดการสัมมนา การอภิปรายกลุ่มและแสดงความคิดเห็น
(4) การประเมินตนเอง และการประเมินโดยเพื่อนร่วมชั้นเรียน
3.4.3 ใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในสังคมข้าม วัฒนธรรม
(1) สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษยสัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของ วัฒนธรรมต่างๆ ในเนื้อหารายวิชา (4) ส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนภาษาและวัฒนธรรมนานาชาติ
(1) การสังเกตพฤติกรรมและบทบาทของนักศึกษาในกระบวนการกลุ่ม
(2) ประเมินและติดตามกระบวนการเรียนรู้
(3) การสะท้อนคิด (Reflection) ต่อกระบวนการกลุ่ม
(4) การประเมินตนเอง และการประเมินโดยเพื่อน
(2) ประเมินและติดตามกระบวนการเรียนรู้
(3) การสะท้อนคิด (Reflection) ต่อกระบวนการกลุ่ม
(4) การประเมินตนเอง และการประเมินโดยเพื่อน
n/a
n/a
n/a
n/a
n/a
n/a
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 2.2.1 คุณธรรมจริยธรรม | 2.2.2 ความรู้ | 2.2.3 ทักษะทางปัญญา | 2.2.4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 2.2.5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 2.2.6 ทักษะในการปฏิบัติงาน | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 3 | 6 | 7 | 2 | 3 | 1,2,3,4 | 1,2,3 |
1 | BOAEC150 | ภาษาและวัฒนธรรม |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1. มีทัศนคติที่ดี เคารพศักดิ์ศรีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ 2. มีวินัย ตรงต่อเวลา และปฏิบัติตามวัฒนธรรมองค์กรที่ดี 3. มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม | 1.3 วิธีการประเมินผล สังเกตการณ์ บันทึกการเข้าห้องเรียนและการส่งงาน | 1-16 | 10% |
2 | 3 เปรียบเทียบการใช้ภาษาอังกฤษในวัฒนธรรมที่หลากหลาย 6 ตีความ วิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความคิดเห็นด้านภาษาและวัฒนธรรมอย่างสร้างสรรค์ 7 ประเมินความเหมาะสมของการใช้วัจนภาษา และอวัจนภาษาเพื่อสื่อสารในบริบทวัฒนธรรม ข้ามชาติได | สอบกลางภาค | 8 | 25% |
3 | 3 เปรียบเทียบการใช้ภาษาอังกฤษในวัฒนธรรมที่หลากหลาย 6 ตีความ วิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความคิดเห็นด้านภาษาและวัฒนธรรมอย่างสร้างสรรค์ 7 ประเมินความเหมาะสมของการใช้วัจนภาษา และอวัจนภาษาเพื่อสื่อสารในบริบทวัฒนธรรม ข้ามชาติได | สอบปลายภาค | 17 | 25% |
4 | 3 เปรียบเทียบการใช้ภาษาอังกฤษในวัฒนธรรมที่หลากหลาย 6 ตีความ วิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความคิดเห็นด้านภาษาและวัฒนธรรมอย่างสร้างสรรค์ 7 ประเมินความเหมาะสมของการใช้วัจนภาษา และอวัจนภาษาเพื่อสื่อสารในบริบทวัฒนธรรม ข้ามชาติได | Quiz | 3,5,7,13,15 | 10% |
5 | 3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา (2) มีทักษะในการนำความรู้มาประยุกต์และปรับเปลี่ยนตามวัฒนธรรมสากล 4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา 3.4.3 ใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในสังคมข้าม วัฒนธรรม | Task : Group work | 3,5,7.11,13,15,16 | 30% |
-
Jahangirov, Fikrat (2019). Language and Cuture. Baku.
1. Holmes, Janet. (2013). An Introduction to Sociolinguistics. (4th ed.). London & New York: Routledge, Taylor & Francis Group.
2. https://jernjernmcmxcvii.wordpress.com/2019/10/02/geert-hofstede-cultural-dimensions-%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1/
3. https://managementstudyguide.com/hofstedes-cultural-framework-as-applied-to-china.htm
4. https://thelanguagedoctors.org/what-is-the-language-and-culture-relationship/
2. https://jernjernmcmxcvii.wordpress.com/2019/10/02/geert-hofstede-cultural-dimensions-%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1/
3. https://managementstudyguide.com/hofstedes-cultural-framework-as-applied-to-china.htm
4. https://thelanguagedoctors.org/what-is-the-language-and-culture-relationship/
การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จากกิจกรรมดังต่อไปนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้จากนักศึกษาผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์ดังต่อไปนี้
2.1 การสังเกตการณ์การสอนของหัวหน้าสาขาวิชา/หัวหน้าสาขา/ผู้ที่คณะมอบหมาย
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
นำผลประเมินการสอนตามข้อ 2 มาปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้
3.1 จัดประชุมการจัดการเรียนการสอน
3.2 ดำเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาจากกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยหัวหน้าสาขาวิชา หรือหัวหน้าสาขา หรือผู้ที่คณะมอบหมาย
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ คะแนนภาคปฏิบัติ และการให้คะแนนพฤติกรรม
นำผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา มาวางแผนปรับปรุงการสอนและรายละเอียดของรายวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้จากรายวิชานี้ เข้ากับปัญหาที่มาจากงานวิจัยหรือประสบการณ์ของอาจารย์