การบริหารจัดการเครื่องจักรกลการเกษตร

Management of Agricultural Machinery

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการ ในด้านต่างๆ ดังนี้

บอกความหมายของการจัดการเครื่องทุ่นแรงฟาร์มได้ คำนวณหาสมรรถนะและประสิทธิภาพของเครื่องต้นกำลังและเครื่องทุ่นแรงฟาร์มได้ คำนวณหาค่าใช้จ่าย การวิเคราะห์หาจุดคุ้มทุน ระยะเวลาในการคืนทุน การเปรียบเทียบ ระหว่างการเช่าการซื้อและการว่าจ้างแรงงานได้ เลือกขนาดของแทรกเตอร์และเครื่องทุ่นแรงฟาร์มได้ อธิบายการใช้เครื่องทุ่นแรงฟาร์มเพื่อให้เกิดความปลอดภัยได้ มีทักษะการปฏิบัติการ ในการบำรุงรักษาและการทดสอบสมรรถนะแทรกเตอร์และเครื่องมือทุ่นแรงฟาร์ม มีเจตคติที่ดีกับการจัดการเครื่องมือทุ่นแรงฟาร์ม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหา ในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในหลักการเกี่ยวกับ สภาวะการใช้เครื่องทุ่นแรงฟาร์มในประเทศไทยความสัมพันธ์ระหว่างผลผลิตและระดับการใช้เครื่องทุ่นแรงฟาร์ม สมรรถนะและประสิทธิภาพของเครื่องต้นกำลังและเครื่องทุ่นแรงฟาร์ม การคำนวณค่าใช้จ่ายการวิเคราะห์หาจุดคุ้มทุน ระยะเวลาในการคืนทุน การเปรียบเทียบระหว่างการเช่าการซื้อและการว่าจ้าง การเลือกขนาดของเครื่องทุ่นแรงฟาร์ม และความปลอดภัยในการใช้เครื่องทุ่นแรงฟาร์ม เพื่อเป็นความรู้ในการประกอบอาชีพ ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับสภาวะการใช้เครื่องจักรกลทางการเกษตรในประเทศไทย ความสัมพันธ์ระหว่างผลผลิตและระดับการใช้เครื่องจักรกลทางการเกษตร สมรรถนะของเครื่องต้นกำลังและเครื่องจักรกลทางการเกษตร วิเคราะห์ค่าใช้จ่าย การเปรียบเทียบระหว่างการซื้อ การเช่าและการว่าจ้าง การเลือกขนาดของเครื่องจักรกลทางการเกษตร และความปลอดภัยในการใช้เครื่องจักรกลทางการเกษตร
3.1 วันอังคาร พุธ ศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องสำนักงานเครื่องจักรกลเกษตร โทร 055-298438 ต่อ 1177
3.2 e-mail; noppadol2509@hotmail.com เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
š1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้ การจัดการเครื่องทุ่นแรงฟาร์ม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักศึกษารู้จักช่วยเหลือซึ่งกันและกัน รู้ผิดและรู้ชอบ


อภิปรายกลุ่มและฝึกปฏิบัติงานจริง โดยเน้นความถูกต้องตามหลักวิชาการและวิชาชีพ และรู้จักจรรยาบรรณในการทำงานบรรยายพร้อมยกตัวอย่างการอ้างอิงหนังสือที่นำมาใช้เป็นเอกสารอ้างอิง ตลอดจนการคัดลอกงานคนอื่น มาเป็นของตนเอง ซึ่งเป็นสิ่งที่ผิดจรรยาบรรณ


ฝึกปฏิบัติการทดสอบสมรรถนะแทรกเตอร์และเครื่องทุ่นแรงฟาร์ม โดยให้นักศึกษาได้ปฏิบัติงานร่วมกัน บริการสังคม กำหนดเวลา ความรับผิดชอบ การทำงานตลอดจนรักษาสิ่งแวดล้อมในการทำงาน


บรรยายในห้องหรือปฏิบัติการในแปลง โดยเน้นสอนให้นักศึกษารู้จักการเคารพสิทธิ์ของเพื่อนร่วมงาน
พฤติกรรมการเข้าเรียน

- การตรงต่อเวลา
- การมีน้ำใจต่อเพื่อนร่วมชั้น เช่นการให้ยืมอุปกรณ์การ เรียนขณะเรียน

ด้านจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ

- ไม่ลอกการบ้าน งานมอบหมาย หรือข้อสอบ
- งานมอบหมายจะต้อง ค้นคว้ามาโดยมีการอ้างอิง เอกสาร

ด้านวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม การฝึกปฏิบัติงานตามคำสั่ง ความตั้งใจใส่ในการเรียน การส่งงานตรงต่อเวลา ขณะเรียนและปฏิบัติงานใส่ใจเรื่องสิ่งแวดล้อม


ด้านการเคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ไม่แกล้ง ใส่ร้ายเพื่อน การเคารพการตัดสินใจ ที่เป็นมติของคนส่วนใหญ่ การแต่งกายถูกต้องเพื่อเคารพต่อสถาบัน และเพื่อนร่วมห้อง

ไม่แซงคิวหรือลำดับของเพื่อนร่วมห้อง
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š2.2 สามารถติดตามความ ก้าวหน้าทางวิชาการและเทค โนโลยี
2.1 บรรยายและฝึกปฏิบัติเพื่อให้นักศึกษได้มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 มอบหมายงานค้นคว้าเทคโนโลยีเครื่องจักรกลเกษตรสมัยใหม่
2.3 ปฏิบัติการการใช้เครื่อง จักรกลเกษตรในการผลิตพืช
3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์
3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงาน
3.3 สังเกตพฤติกรรมจากการปฏิบัติงาน
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
š3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.1 การมอบให้นักศึกษาปฏิบัติงานในโรงเรือนปลูกพืชและการเลี้ยงสัตว์ พื้นที่จริง ตามหัวข้องานในแต่ละหน่วยเรียน และการนำเสนอผลงาน
3.2 อภิปรายกลุ่ม
3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงาน
3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.3 การนำเสนอรายงาน
4.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
š5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
š5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
กองเกษตรวิศวกรรม 2531. คู่มือการใช้เครื่องนวดเมล็ดพืช. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการเกษตรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
เกษตรพัฒนา: โรงงาน. 2537. คู่มือการใช้เครื่องนวดข้าว. [ม.ป.พ.].
ฉัตรชาย ศุภจารีรักษ์. 2538. รถแทรกเตอร์เพื่อการเกษตร. ชลบุรี: ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตรศาสตร์บางพระ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.
. 2544. เครื่องมือเก็บเกี่ยวและเครื่องมือเกี่ยวนวด. ชลบุรี: ภาคเกษตรกลวิธาน คณะเกษตรศาสตร์ บางพระ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.
ประณต กุลประสูติ. 2535. แทรกเตอร์เพื่อการเกษตร (การใช้ การบรอการบำรุงรักษา และการปรับปรุง). กรุงเทพฯ: เอเชียเพรส.
. 2544. แทรกเตอร์. กรุงเทพฯ: ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร คณะวิศวกรรมและเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.
ประสาร กระดังงา, สุทธิพร เนียมหอม, ไชยยงค์ หาราช, อเนก สุขเจริญและวิเชฐ ศรีชลเพชร.2541. รายงานการทดสอบรถแทรกเตอร์ 4 ล้อเล็ก. ศูนย์เครื่องจักรกลเกษตรแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.
ผดุงศักดิ์ วานิชชัง.2532. การทดสอบสมรรถนะแทรกเตอร์และเครื่องทุ่นแรงฟาร์ม. ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตรศาสตร์บางพระ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.
พินัย ทองสวัสดิ์, จิราภรณ์ เบญจประกายรัตน์. เอกสารประกอบการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่องเครื่องกำจัดวัชพืชแบบ กวศ.1. ระหว่างวันที่ 31 พ.ค. – 2 มิ.ย. 2538 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาวิทยาเขตกำแพงแสน นครปฐม.
พินัย ทองสวัสดิ์วงศ์, วินิต ชินสุวรรณ, สุรเวทย์ กฤษณะเศรณี, สมโภชน์ สุดาจันทร์,เสรี วงส์พิเชษฐ. 2532. คู่มือการใช้เครื่องหยอดเมล็ดพืชแบบล้อเอียง. [ม.ป.ท. : ม.ป.พ.].
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม สำนักงาน(สมอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม. 2351. มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเครื่องนวดข้าวตามแกนลูกนวด มอก.768-2531. กรุงเทพ:
. 2535 ก. มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสากรรม การทดสอบรถไถเดินตาม มอก. 1110-2535. กรุงเทพ:
. 2537. มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเครื่องหยอดเมล็ดพืช มอก. 1236-2537. กรุงเทพ:
. 2538. มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมหัวฉีดพ่นไฮดรอลิกสำหรับป้องกันและกำจัดศัตรูพืช มอก. 1273-2538. กรุงเทพ:
รุ่งเรือง กาลศิริศิลป์. 2545. การจัดการเครื่องต้นกำลังและเครื่องจักรกลเกษตร. กรุงเทพฯ: ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร คณะวิศวกรรมและเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.
วินิต ชินสุวรรณ. 2530. เครื่องจักรกลเกษตรและการจัดการเบื้องต้น. ขอนแก่น: ภาควิชาวิศวกรรมเกษตรคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.