วาดภาพเพื่อการออกแบบ

Drawing for Design

1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องราวของพื้นฐานทางทฤษฎี รู้ความหมายความเป็นมา และรูปแบบของงานวาดเส้นประเภทต่างๆ 1.2 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจหลักการ ทฤษฎีทางศิลปะที่นำมาใช้ในงานวาดเส้น และมีทักษะการใช้วัสดุอุปกรณ์ทีใช้ในงานวาดเส้น 1.3 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจ วิธีการวาดเส้นในรูปแบบเหมือนจริงในองค์ประกอบของรูปร่างรูปทรง สัดส่วน ระยะ แสงเงา ในเนื้อหา หุ่นนิ่งของสิ่งของ สัดส่วนลีลาท่าทางของสัตว์ คน สามารถเลือกใช้เทคนิคในการเขียนได้อย่างเหมาะสม 1.4 เพื่อให้นักศึกษามีทักษะเชิงปฏิบัติในการวาดเส้นในรูปแบบที่เหมือนจริง สามารถใช้องค์ประกอบของรูปร่างรูปทรง สัดส่วน ระยะ แสงเงา ในเนื้อหา หุ่นนิ่งของสิ่งของ สัดส่วนลีลาท่าทางของสัตว์ และคน โดยใช้เทคนิคในการเขียนได้อย่างเหมาะสม 1.5 เพื่อให้นักศึกษามีเจตนคติที่ดีและเห็นความสำคัญของการวาดเส้นที่เป็นพื้นฐานของการออกแบบ เพื่อพัฒนาสู่การเรียนในวิชาเอกเฉพาะทางต่อไป
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการวาดเส้น เทคนิควิธีการวาดเส้นพื้นฐาน การเขียนภาพแบบจำลองในลักษณะต่าง ๆ การจัดองค์ประกอบศิลป์ รูปร่างรูปทรง สัดส่วน พื้นผิว ปริมาตร แสงเงา มุมมอง ระยะใกล้ไกล มีการสร้างสรรค์ผลงานเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว เพื่อนำไปประยุกต์ใช้กับศิลปะและการออกแบบอย่างเหมาะสม
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการวาดเส้นพื้นฐานจากหุ่นนิ่ง สัตว์ คน และทิวทัศน์ ด้วยดินสอหรืออุปกรณ์วาดเส้นอื่นๆ โดยเน้นความถูกต้องตามสัดส่วน รูปร่าง รูปทรง แสงเงา ระยะใกล้ไกล โดยมีการแสดงออกทางเทคนิคและวิธีการอย่างเหมาะสม
3  ชั่วโมง ต่อสัปดาห์
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 
- ซื่อสัตย์ สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม - มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- อธิบายให้นักศึกษาเห็นความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานที่ได้รับมอบหมาย - บรรยายพร้อมแสดงตัวอย่างหนังสือที่เกี่ยวข้องและ สื่อคอมพิวเตอร์ประกอบ ให้นักศึกษาเรียนรู้เป็นกลุ่มเกี่ยวกับงานวาดเส้นทั้งในและนอกสถานที่
- พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา - ประเมินผลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยแบบทดสอบกลางภาคและปลายภาค
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ 
- รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรมและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง - มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม - มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
- บรรยายพร้อมสื่อคอมพิวเตอร์ประกอบ - บรรยายพร้อมการศึกษาปฏิบัติงานทั้งในและนอกสถานที่ - บรรยายเกี่ยวกับแนวทางการประกอบอาชีพทางด้านศิลปกรรมในอนาคต
- ผลศึกษารายงานผลการศึกษาดูงานนอกสถานที่ - สอบกลางภาค และสอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดความรู้ความเข้าใจและเจตคติ - การอภิปราย แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับความสำคัญของวิชาชีพศิลปกรรม
 
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา 
- สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ - มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
- บรรยายพร้อมตั้งคำถามในเชิงวิเคราะห์เกี่ยวกับงานวาดภาพ - บรรยายเนื้อหาเกี่ยวกับงานศึกษาค้นคว้า และอภิปรายร่วมกัน 
- เก็บคะแนนด้วยการประเมินจากการมีส่วนร่วม - การสังเกตพฤติกรรมและการมีส่วนร่วม
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา 
- มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ - สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
- สอนแบบบรรยายทฤษฎี และฝึกปฏิบัติงานเดี่ยวและการทำงานกลุ่ม - สอนแบบบรรยาย และให้ความรู้เกี่ยวกับการอยู่ร่วมกับผู้อื่นในการทำงาน
- งานศึกษาค้นคว้าเป็นกลุ่มเกี่ยวกับการวาดเส้น - งานศึกษาค้นคว้า หรือกิจกรรมการบำเพ็ญประโยชน์ หรือการอยู่ร่วมกับผู้อื่นในการทำงาน
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา 
- สามารถสื่อสารด้วยการพูด อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป
- สอนแบบบรรยายให้เห็นความสำคัญของการสื่อสารด้วยภาษา และสื่อออนไลน์ต่างในการสื่อสาร
- การสังเกตพฤติกรรมในการเรียน การศึกษาค้นคว้า การทำงานปฏิบัติ
6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย 
- มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ - มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
- สอนแบบสาธิตในเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับงานปฏิบัติงานวาดเส้นหรือวาดเขียน - สอนแบบสาธิตและการแบ่งกลุ่ม เพื่อหาแนวทางการปฏิบัติที่เหมาะสมในการปฏิบัติงานวาดเส้นหรือวาดเขียน
- ผลงานปฏิบัติของนักศึกษารายบุคคล ที่สอดคล้องหรือตรงตามวัตถุประสงค์ของผู้สอน - ผลงานปฏิบัติของนักศึกษารายกลุ่ม ที่มีแนวทางเหมาะสมและชัดเจนกับเนื้อหาการวาดเส้นหรือวาดเขียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ความสัมพันธุ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 บรรยาย วิธีการเรียนทฤษีและปฏิบัติ การประเมินผลงานและการเข้าชั้นเรียน 2. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม 3. ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ ในการปฎิบัติงาน โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของสาขาวิชา นอกจากนี้อาจจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงาน หรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึก ประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ 1. ศึกษาข้อมูลเพื่อสร้างแนวคิดในการออกแบบ 2. บรรยาย และการให้นักศึกษาปฏิบัติโครงงานที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา แต่ละหน่วยเรียน 1. 2. 3. 4. 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAACC404 วาดภาพเพื่อการออกแบบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3 การเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน การสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง 2-16 10
2 2.3 ผลงานรายบุคคล / ผลงานกลุ่ม (แบบฝึกหัด / เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน) 2-16 60
3 3.3 การนำเสนอ (วาจาและสื่อ) 2-16 10
4 1.3 การสอบปฏิบัติ (สอบกลางภาค สอบปลายภาค) 8,17 20
โกสุม สายใจ.(2530). Drawing. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. ธานี สังข์เอี้ยว.(2552).วาดเส้นพื้นฐาน.กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์วาดศิลป์ จำกัด. นงนารถ เมินทุกข์.(2534). วาดเขียน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. นภาพร โลนุชิต.(2558). วาดเส้นพื้นฐาน.กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์นครสาส์น. สุชาติ เถาทอง.(2536). วาดเส้น. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. ศุภพงศ์ ยืนยง. (2547). หลักการวาดภาพ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. อัศนีย์ ชูอรุณ.(2540). ศิลปะวิชาการ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์. อัศนีย์ เชยอรุณ.(2542). การวาดรูปอย่างง่ายๆ.กรุงเทพฯ.สำนักพิมพ์โอ.เอส.พริ้นติ้งเอ้าส์.
เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเรื่อง การจัดองค์ประกอบศิลป์, วาดเส้นสร้างสรรค์, ทฤษฎีศิลป์
บุญเลิศ บัตรขาว.กายวิภาค ฉบับนักศึกษาศิลปะ.กรุงเทพ:สำนักพิมพ์ โอเดียนสโตร์, 2531
โชดก เก่งเขตรกิจ.ความรู้ทั่วไปทางศิลป์.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ เสริมวิทย์บรรณาคาร , 2533
ชลูด นิ่มเสมอ.องค์ประกอบของศิลปะ.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ ไทยวัฒนาพานิช จำกัด, 2534
เสน่ห์ ธนารัตน์สฤษดิ์.Study Drawing.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ รวมสาส์น จำกัด, 2537
สมเกียรติ ตั้งนโม.ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ โอเดียนสโตร์, 2537
เกษม ก้อนทอง.วาดเส้นสร้างสรรค์.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ โอเอสพริ้นติ้งเฮาส์ , 2545
จรูญ โกมุทรัตนานนท์.สุนทรียศาสตร์: ปัญหาเบื้องต้นในปรัชญาศิลปะและความงาม.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรังสิต, 2551
ธานี สังข์เอี้ยว.วาดเส้นฝึกมือ ชุด วาดเส้นพื้นฐาน.กรุงเทพฯ:บจก.สนพ., 2552
สื่อออนไลน์