อุปกรณ์ตรวจจับและตัวกระตุ้น
Sensor and Actuator
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจหลักการและคุณสมบัติของอุปกรณ์ตรวจจับแบบต่างๆ เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการเลือกใช้เซ็นเซอร์ให้เหมาะสมกับระบบควบคุมการปรับสภาพสัญญาณของเซ็นเซอร์ เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจวงจรส่งสัญญาณออกของเซ็นเซอร์ วงจรขายาสัญญาณสำหรับเซ็นเซอร์ เพื่อให้นักศึกษาสามารถมีความรู้ความเข้าใจการป้องกันสัญญาณรบกวนหลักการของอุปกรณ์กระตุ้นชนิดต่างๆ เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจหลักการการทำงานของสเต็ปมอเตอร์ เซอร์โวมอเตอร์แบบกระแสตรงและกระแสสลับ เพื่อให้นักศึกษาความรู้ความเข้าใจหลักการกลไกการสร้างแรงบิดทางแม่เหล็กไฟฟ้า อุปกรณ์กระตุ้นไฮดรอลิกส์ และนิวแมติกส์ เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยกต์ใช้อุปกรณ์ตรวจจับแบบต่างๆและตัวกระตุ้นได้อย่างเหมาะสม
เพื่อให้นักศึกษาสามารถเข้าใจหลักการและคุณสมบัติของอุปกรณ์ตรวจจับแบบต่างๆ การเลือกใช้เซ็นเซอร์อย่างเหมาะสม ร่วมกับการเข้าใจระบบควบคุมการปรับสภาพสัญญาณของเซ็นเซอร์ วงจรส่งสัญญาณออกของเซ็นเซอร์ วงจรขายาสัญญาณสำหรับเซ็นเซอร์ การป้องกันสัญญาณรบกวนหลักการของอุปกรณ์กระตุ้นชนิดต่างๆ การทำงานของสเต็ปมอเตอร์ เซอร์โวมอเตอร์แบบกระแสตรงและกระแสสลับ กลไกการสร้างแรงบิดทางแม่เหล็กไฟฟ้า อุปกรณ์กระตุ้นไฮดรอลิกส์ และนิวแมติกส์ได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนสามารถทำการวางแผนในการเลือกใช้ได้อย่างเหมาะสมสำหรับการใช้งานทางด้านอุตสาหกรรมให้เกิดความสะดวกและปลอดภัย
ศึกษาและปฎิบัติเกี่ยวกับหลักการและคุณสมบัติของอุปกรณ์ตรวจจับแบบต่างๆ เช่น อุปกรณ์ตรวจจับตำแหน่ง แสง อุณหภูมิ แรงดัน ความเครียด อัตราการไหล และปฎิกิริยาทางเคมี การสื่อสัญญาณและการประมวลผลระหว่างเซ็นเซอร์และตัวควบคุม การเลือกใช้เซ็นเซอร์ให้เหมาะสมกับระบบควบคุมการปรับสภาพสัญญาณของเซ็นเซอร์ วงจรส่งสัญญาณออกของเซ็นเซอร์ วงจรขายาสัญญาณสำหรับเซ็นเซอร์ การป้องกันสัญญาณรบกวนหลักการของอุปกรณ์กระตุ้นชนิดต่างๆ หลักการทำงานของสเต็ปมอเตอร์ เซอร์โวมอเตอร์แบบกระแสตรงและกระแสสลับ กลไกการสร้างแรงบิดทางแม่เหล็กไฟฟ้า อุปกรณ์กระตุ้นไฮดรอลิกส์ และนิวแมติกส์การควบคุมอุปกรณ์กระตุ้นชนิดต่างๆและการประยุกต์ใช้งาน
จำนวน 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคลจำนวน 1-2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ โดยใช้ระบบออนไลน์แบบ ไลน์ E-mail Team Messenger โทรศัพท์ ที่เป็นวิธีการสื่อสารให้นักศึกษาได้ทราบกำหนดเวลาล่วงหน้า
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1. มีวินัยตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญเคารพสิทธิและรับฟังความคิดของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. มีวินัยตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญเคารพสิทธิและรับฟังความคิดของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
การประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้ร่วมชั้นเรียน สร้างแนวปฏิบัติ เพื่อปลูกฝังระเบียบวินัย เช่น การตรงต่อเวลา การแต่งกายถูกต้องตามระเบียบ
การสังเกตพฤติกรรม เช่น การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดเวลา การเข้าร่วมกิจกรรม เป็นต้น
มีความรู้ตามหลักการทฤษฎีคุณสมบัติของอุปกรณ์ตรวจจับแบบต่างๆ สามารถทำการวางแผนในการจัดการอุปกรณ์ซ็นเซอร์ตรวจจับและอุปกรณ์กระตุ้นชนิดต่างๆได้อย่างเหมาะสมฃ มีความรู้ความเข้าใจในด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพื้นฐานการหลักการและคุณสมบัติของอุปกรณ์ตรวจจับแบบต่างๆ มีความรู้ในวิธีการและการใช้เครื่องมือด้านเทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสมในการทำงาน สามารถบูรณาการความรู้ด้านเทคโนโลยีกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมเช่นโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นต้น
สอนโดยใช้ระบบทั้งแบบออฟไลน์และออนไลน์ ผ่านสื่อการนำเสนอแบบโปรแกรมนำเสนอ และการใช้ตำราในการศึกษาความรู้ จัดการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี เช่น การบรรยาย การอภิปราย การสาธิต การจัดทำรายงาน การใช้ปัญหาเป็นฐาน การโปรแกรมสำเร็จรูปอย่างง่าย (Excel) เป็นต้น
ประเมิลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษาในด้านต่าง ๆ คือ
ทดสอบความรู้ภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ โดยมีการทดสอบระหว่างเรียน สอบกลางภาค และสอบปลายภาค ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมาย และการรายงาน
ทดสอบความรู้ภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ โดยมีการทดสอบระหว่างเรียน สอบกลางภาค และสอบปลายภาค ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมาย และการรายงาน
สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ สามารถรวบรวม ศึกษาวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาและหาแนวทางแก้ไข สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านการเซ็นเซอร์และตัวกระตุ้นได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีใหม่ๆ
ฝึกทักษะการคิดและการแก้ไขปัญหาทั้งระดับบุคคลและกลุ่ม โดยใช้เทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย เช่น การใช้กรณีศึกษา การอภิปราย การรายงาน การสาธิต เป็นต้น แนะนำวิธีการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลด้วยตนเอง กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ e-learning
ประเมินทักษะกระบวนการคิด กระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน โดยใช้กรณีศึกษา ประเมินจากผลงานการศึกษาค้นคว้าและการวิเคราะห์ วิจารณ์ อย่างเป็นระบบ เช่น รายงานการค้นคว้าอิสระ รายงานการอภิปรายกลุ่ม เป็นต้น
สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและสอดคล้องกับวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง จักบทบาทหน้าที่และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงานและการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
กำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่น การค้นคว้าหาข้อมูลจากการทางบทความวิชาการ อินเตอร์เน็ต หรือผู้มีประสบการณ์
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน และสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานที่ได้รับมอบหมาย
มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูดการเขียนภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์ ทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์/อินเตอร์เน็ตในการสืบค้นข้อมูลและจัดการข้อมูล ความสามารถในการใช้คณิตศาสตร์ หรือ สถิติเพื่อการวิเคราะห์และจัดการข้อมูล
จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้นักศึกษาได้เลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารหลากหลายรูปแบบและวิธีการ จัดการเรียนรู้ด้านสถิติ สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลและฝึกแก้ไขปัญหาโจทย์ที่ต้องใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์หรือสถิติ
ประเมินจากเทคนิคการวิเคราะห์และการใช้เครื่องมือทางคณิตศาสตร์และสถิติในการแก้ไขปัญหา ประเมินทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน โดยใช้แบบทดสอบ แบบสังเกต เป็นต้น ประเมินการนำเสนอรายงานด้วยสื่อเทคโนโลยี
6.1.1 มีทักษะวิชาชีพในการปฏิบัติงานตามสมรรถนะวิชาชีพที่สถานประกอบการต้องการ 6.1.2 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และสามารถบูรณาการความรู้ที่เรียนมาเพื่อพัฒนาต่อยอดทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนางานได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
6.1.3 มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพของตนเอง
6.2.1 ให้นักศึกษาได้ทดลองมือปฏิบัติจริง โดยใช้ความรู้จากทางทฤษฎีที่เรียนมา การวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัยดังข้อต่อไปนี้
6.2.2 สาธิตการปฏิบัติการทางด้านพื้นฐานทางวิศวกรรมโดยผู้เชี่ยวชาญ
6.2.3 ให้ความสำคัญต่อการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในงานด้านการผลิตได้อย่างเหมาะสม
6.3.1 สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานและจดบันทึก
6.3.2 พิจารณาผลการปฏิบัติงาน รวมทั้งงานที่มอบหมาย
6.3.3 พิจารณาจากแนวทางการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบในโครงงานที่ได้รับมอบหมาย ในรูปแบบของรายงาน ชิ้นงาน และสื่อต่าง แก้ไข
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรม จริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6. ด้านทักษะพิสัย | |||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 |
1 | ENGMC112 | อุปกรณ์ตรวจจับและตัวกระตุ้น |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.1.1,1.1.2,1.1.3,1.1.4,3.1.1,3.1.2,3.1.3 | การเข้าชั้นเรียน การส่งใบงาน รายงาน นำเสนองาน | ตลอดภาคการเรียน | 35% |
2 | 2.1.1,2.1.2,3.1.1,3.1.2 | สอบกลางภาค/ปลายภาค | 8/17 | 30% / 35% |
• เอกสารประกอบการสอนเซ็นเซอร์และตัวกระตุ้น
• ตัวควบคุมซีเควนซ ์หลักการทำงาน และการประยุกต์ เขียนโดย รศ.กฤษฎา วิศวธีรานนท
•โปรแกรมเมเบิล คอนโทรลเลอรเทคนิค และการใชงานเบื้องตน เขียนโดย สุพรรณ กุลพาณิชย
•เซนเซอร์และทรานสดิวเซอร์ในงานอุตสาหกรรม เขียนโดย รศ.วิศรุต ศรีรัตนะ
• เอกสารอื่น ๆ
•ตัวควบคุมซีเควนซ์ หลักการทำงาน และการประยุกต เขียนโดย รศ.กฤษฎา วิศวธีรานนท
•โปรแกรมเมเบิล คอนโทรลเลอรเทคนิค และการใชงานเบื้องตน เขียนโดย สุพรรณ กุลพาณิชย
•เซนเซอร์และทรานสดิวเซอร์ในงานอุตสาหกรรม เขียนโดย รศ.วิศรุต ศรีรัตนะ
• เอกสารอื่น ๆ
•ตัวควบคุมซีเควนซ์ หลักการทำงาน และการประยุกต เขียนโดย รศ.กฤษฎา วิศวธีรานนท
•โปรแกรมเมเบิล คอนโทรลเลอรเทคนิค และการใชงานเบื้องตน เขียนโดย สุพรรณ กุลพาณิชย
•เซนเซอร์และทรานสดิวเซอร์ในงานอุตสาหกรรม เขียนโดย รศ.วิศรุต ศรีรัตนะ
• เอกสารอื่น ๆ
1. ประเมินจากการใส่ในในการเรียน เช่น การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การซักถาม
2. การประเมินจากใบงานในแต่ละบทการเรียน 3. การประเมินในส่วนของการทดสอบกลางภาคและปลายภาค
1. การสังเกตพฤติกรรมการเรียน
2. การสอบกลางภาคและปลายภาค
3. ประเมินจากรายงานกลุ่ม และการนำเสนองานกลุ่ม
2. การสอบกลางภาคและปลายภาค
3. ประเมินจากรายงานกลุ่ม และการนำเสนองานกลุ่ม
1. อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงวิธีการสอน จากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทำแฟ้มสะสมงานรายวิชาและรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา (มคอ.05) ต่อวิชาการ
2. นำเสนอแนวทางปรับปรุงแก้ไขให้ภาควิชาเพื่อประชุมสรุปร่วมกัน และกำหนด แนวทางแก้ไขต่อไป
2. นำเสนอแนวทางปรับปรุงแก้ไขให้ภาควิชาเพื่อประชุมสรุปร่วมกัน และกำหนด แนวทางแก้ไขต่อไป
ทำการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาโดยการประเมินคุณภาพของข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน และงานที่มอบหมาย เพื่อนำมาทบทวนให้สอดคล้องตาม มคอ.2
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดเนื้อหาวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น