กระบวนการคิดและการใช้นวัตกรรมเพื่อชีวิตมีสุข
Thinking and Innovative Using for Well-being
1.แสดงความรู้เกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาและคิดในเชิงวิเคราะห์เพื่อการตัดสินใจได้อย่างเป็นระบบ
2.ประเมินสถานการณ์และวิเคราะห์ปัญหา กระบวนการคิด ได้อย่างสร้างสรรค์จากนวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่ เพื่อการปรับตัวในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
3.ประยุกต์ใช้เทคนิคการคิด แนวทางการคิด วิธีการแก้ไขปัญหาทางความคิดอย่างเป็นระบบเพื่อแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
1.เข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎี เทคนิคและกระบวนการพัฒนาการคิดแบบมีเหตุผล ที่ส่งเสริมความคิดโดยใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่เป็นกรณีศึกษา
2.สามารถคิดอย่างเป็นระบบในการจัดลำดับงาน โดยฝึกทักษะการคิดและนวัตกรรม การจัดการทางความคิดและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
3.มีเจตคติ และกิจนิสัยที่ดีในการดำเนินชีวิตและสามารถทำงานร่วมก้บผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
ศึกษาเกี่ยวกับ ทฤษฎี เทคนิค กระบวนการคิดและการพัฒนาการคิด และฝึกทักษะการคิด วิธีการแก้ไขปัญหาทางความคิด เพื่อขจัดปัญหาทางความคิดอย่างเป็นระบบ เพื่อสร้างนวัตกรรมในการพัฒนาคุณภาพชีวิต สามาถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีในการดำเนินชีวิตอย่างมีความสุข
ให้คำปรึกษาและแนะนำตามความต้องการของนักศึกษาเป็นรายกรณีและชั่วโมงว่างของอาจารย์ผู้สอน
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล | ไม่มีข้อมูล |
---|
ศรีสุรางค์ ทีนะกุล สมจิต รัตนอุดมโชติ ทรงศักดิ์ นิธิปรีชา สมศักดิ์ เทศสวัสดิ์ และเวชชัย สังข์สาย. (2542). การคิดและการตัดสินใจ. กรุงเทพมหานคร : บริษัทเธิว์ดเวฟ เอ็ดดูเคชั่น จำกัด.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2545). การคิดเชิงสร้างสรรค์. กรุงเทพมหานคร : ซัคเซสมีเดีย.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2546). การคิดเชิงวิเคราะห์. กรุงเทพมหานคร : ซัคเซสมีเดีย.
ทิพย์วัลย์ สีจันทร์. (2546). ความคิดสร้างสรรค์ การตัดสินใจ ความคิดและการคิด. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์สถาบันราชภัฏสวนดุสิต.มณฑลี ศาสนนันทน์, การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี. พิมพ์ครั้งที่1. กทม. สำนักพิมพ์ธรรมศาสตร์, 2552. หน้า 1-120.
ทรงสิริ วิชิรานนท์,โรจน์รวี พจน์พัฒนพล,สุทธิพร บุญส่ง,สุวิมล จุลวานิช และอนุรีย์ แก้วแววน้อย. การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น, 2550.
ทิพย์วัลย์ สีจันทร์. (2546). ความคิดสร้างสรรค์ การตัดสินใจ ความคิดและการคิด. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์สถาบันราชภัฏสวนดุสิต.มณฑลี ศาสนนันทน์, การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี. พิมพ์ครั้งที่1. กทม. สำนักพิมพ์ธรรมศาสตร์, 2552. หน้า 1-120.
ทรงสิริ วิชิรานนท์,โรจน์รวี พจน์พัฒนพล,สุทธิพร บุญส่ง,สุวิมล จุลวานิช และอนุรีย์ แก้วแววน้อย. การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น, 2550.
การประเมินผลรายวิชานี้จัดทำโดยนักศึกษา :
1.1 นักศึกษาเป็นผู้ประเมินผลผู้สอน และรายวิชานี้ทางเว็บไซด์ของมหาวิทยาลัย
1.2 นักศึกษาเป็นผู้ประเมินความพึงพอใจในรายวิชานี้ในตอนท้ายของการเรียนการสอนปลายภาคเรียน
1.3 นักศึกษาเป็นผู้ประเมินความพึงพอใจในกิจกรรมต่างๆที่จัดให้
1.4 นักศึกษาเป็นผู้เสนอแนะกิจกรรมในการเรียนการสอน
1.5 นักศึกษาเป็นผู้ประเมินความพึงพอใจต่อโครงการ/กิจกรรเสริม
1.1 นักศึกษาเป็นผู้ประเมินผลผู้สอน และรายวิชานี้ทางเว็บไซด์ของมหาวิทยาลัย
1.2 นักศึกษาเป็นผู้ประเมินความพึงพอใจในรายวิชานี้ในตอนท้ายของการเรียนการสอนปลายภาคเรียน
1.3 นักศึกษาเป็นผู้ประเมินความพึงพอใจในกิจกรรมต่างๆที่จัดให้
1.4 นักศึกษาเป็นผู้เสนอแนะกิจกรรมในการเรียนการสอน
1.5 นักศึกษาเป็นผู้ประเมินความพึงพอใจต่อโครงการ/กิจกรรเสริม
2.1 สังเกตพฤติกรรมความสนใจต่อการเรียนของนักศึกษา (การซักถาม การร่วมอภิปราย การแสดงความคิดเห็น)
2.2 จากกิจกรรมกลุ่มย่อยในชั้นเรียน นอกชั้นเรียน แบบฝึกหัด งานมอบหมายในชั่วโมง
2.3 จากการสังเกตความสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรม การมีจิตอาสา ความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา
2.2 จากกิจกรรมกลุ่มย่อยในชั้นเรียน นอกชั้นเรียน แบบฝึกหัด งานมอบหมายในชั่วโมง
2.3 จากการสังเกตความสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรม การมีจิตอาสา ความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา
3.1 ปรับปรุงเอกสาร ตำราที่ใช้ในการเรียนทุกปีการศึกษาเพื่อแก้ไขเนื้อหาให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ
3.2 ให้นักศึกษานำเสนอสิ่งที่ต้องการให้เพิ่มเติมในวิชานี้
3.3 นำผลการประเมินที่ได้จากนักศึกษามาปรับปรุงพัฒนาให้ดีขึ้น
3.4 ทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อช่วยแก้ปัญหาในเรื่องต่างๆที่มีผลกระทบต่อผู้เรียน
3.2 ให้นักศึกษานำเสนอสิ่งที่ต้องการให้เพิ่มเติมในวิชานี้
3.3 นำผลการประเมินที่ได้จากนักศึกษามาปรับปรุงพัฒนาให้ดีขึ้น
3.4 ทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อช่วยแก้ปัญหาในเรื่องต่างๆที่มีผลกระทบต่อผู้เรียน
4.1 สังเกตการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทั้งด้านการเรียน การมีวินัย การเข้าเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย
4.2 สังเกตการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านอื่นๆ ตามที่ได้เรียนไป ได้แก่ การแต่งกาย บุคลิกภาพ การปรับตัว, พฤติกรรมด้านจริยธรรม ฯลฯ
4.3. คะแนนกิจกรรมและงานมอบหมาย
4.4 การปรับปรุงพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม และวิธีการนำเสนอตามที่ได้รับการแนะนำ
4.2 สังเกตการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านอื่นๆ ตามที่ได้เรียนไป ได้แก่ การแต่งกาย บุคลิกภาพ การปรับตัว, พฤติกรรมด้านจริยธรรม ฯลฯ
4.3. คะแนนกิจกรรมและงานมอบหมาย
4.4 การปรับปรุงพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม และวิธีการนำเสนอตามที่ได้รับการแนะนำ
5.1 มีการปรับปรุงเนื้อหาอย่างสม่ำเสมอ ให้ข้อมูลเป็นปัจจุบันทันเหตุการณ์
5.2 เชิญผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านมาให้ความรู้ในเรื่องต่างๆตามที่นักศึกษาสนใจ
5.3 ปรับปรุงกิจกรรมต่างๆให้มีข้อบกพร่องน้อยลงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
5.4 พัฒนากิจกรรม/โครงการใหม่ๆที่ให้ประโยชน์แก่นักศึกษามาเป็นทางเลือกให้หลากหลายมากขึ้น 5.5 พัฒนาเทคนิคการสอน สื่อเทคโนโลยีการศึกษา ให้ทันสมัย น่าสนใจ และนักศึกษาสามารถเรียนรู้ ได้อย่างรวดเร็ว สามารถนำไปปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน
5.2 เชิญผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านมาให้ความรู้ในเรื่องต่างๆตามที่นักศึกษาสนใจ
5.3 ปรับปรุงกิจกรรมต่างๆให้มีข้อบกพร่องน้อยลงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
5.4 พัฒนากิจกรรม/โครงการใหม่ๆที่ให้ประโยชน์แก่นักศึกษามาเป็นทางเลือกให้หลากหลายมากขึ้น 5.5 พัฒนาเทคนิคการสอน สื่อเทคโนโลยีการศึกษา ให้ทันสมัย น่าสนใจ และนักศึกษาสามารถเรียนรู้ ได้อย่างรวดเร็ว สามารถนำไปปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน