การออกแบบบรรจุภัณฑ์สินค้าอุปโภค

Packaging Design for Consumer Products

1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ วัตถุประสงค์ของการผลิตสินค้าอุปโภค ปัจจัยที่เป็นพื้นฐาน หลักการและขั้นตอนในการออกแบบบรรจุภัณฑ์สินค้าอุปโภค คุณสมบัติพื้นฐานของวัสดุที่นำมาใช้ในการออกแบบ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มผู้ใช้ ประโยชน์ใช้สอย ความสวยงาม วัสดุและกรรมวิธีการผลิต ความปลอดภัย และความเป็นไปได้ในการผลิต
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เพื่อเตรียมความพร้อม ด้านความรู้และทักษะ ในการออกแบบ บรรจุภัณฑ์สินค้าอุปโภค ควรมีการปรับปรุงและพัฒนา ตัวอย่างที่ใช้อ้างอิง วัสดุที่แปลกใหม่ ตามความก้าวหน้า ของยุคสมัย
ความสำคัญ บทบาทหน้าที่ของบรรจุภัณฑ์ รูปแบบมาตรฐานของบรรจุภัณฑ์
สมบัติ และชนิดของวัสดุ กรรมวิธีการผลิตบรรจุภัณฑ์ ศึกษาข้อมูลพฤติกรรม
ผู้บริโภค ปัญหา ประโยชน์ใช้สอย ขั้นตอนการออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ การ
สร้างต้นแบบบรรจุภัณฑ์ และแนวโน้มบรรจุภัณฑ์สินค้าอุปโภค
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคลการไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟต์แวร์ และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา มีความซื่อสัตย์ในการออกแบบบรรจุภัณฑ์อย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรมจริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
 - ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
 - มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
 - มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
 - เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 - เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
สอนโดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรม ปลูกฝังจรรยาบรรณของนักออกแบบ ปลูกฝังงานพื้นฐานเพื่อฝึกความมีวินัย อดทน ตรงต่อเวลา

ให้นักศึกษาทำงานรายเดี่ยว หรือฝึกความรับผิดชอบ และการทำงานร่วมกับผู้อื่น   
1.3.1   ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าเรียนและการแต่งกาย
1.3.2   ประเมินจากการพฤติกรรมการปฏิบัติการและการสอบ
1.3.3   ประเมินจากความรับผิดชอบในการส่งงาน หน้าที่ที่ได้รับ การเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคลการไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟต์แวร์ และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา มีความซื่อสัตย์ในการออกแบบบรรจุภัณฑ์อย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรมจริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
- ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
- มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
- เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
2.2.1  ใช้วิธีการฝึกปฏิบัติตามเนื้อหา โดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการนำไปใช้
2.2.2  เน้นให้นำความรู้ทางด้านวัสดุศาสตร์ดั้งเดิม และทันสมัย เทคโนโลยีมาเชื่อมโยง
2.2.3  จัดกิจกรรมการเรียนในการบูรณาการความรู้ในวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.3.1  ประเมินจากแบบทดสอบด้านทฤษฎี
2.3.2  การปฏิบัติประเมินจากภาคปฏิบัติ
3.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
      พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการเลือกใช้วัสดุและกระบวนการผลิตในระบบอุตสาหกรรมการบรรจุภัณฑ์ในการออกแบบ ให้ตอบสนองกับผลิตภัณฑ์และกลุ่มผู้บริโภคเป็นไปตามคุณสมบัติ ประเภท ชนิด อย่างสร้างสรรค์

มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ

การมอบหมายให้นักศึกษาออกแบบบรรจุภัณฑ์สินค้าอุปโภค และนำเสนอผลงานการออกแบบ
 3.2.1  ฝึกการใช้ความคิดสร้างสรรค์ โดยประยุกต์จากองค์ความรู้ในรายวิชา  3.2.2  จัดการเรียนรู้โดยการแก้ปัญหาจากการปฏิบัติจริง
3.3.1   ตรวจสอบกระบวนการคิดของนักศึกษาจากผลการปฏิบัติงาน
     4.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
     - พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
- พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
- พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
     4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำ และผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
     - จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา บรรจุภัณฑ์สินค้าอุปโภคบริโภค
     - มอบหมายงานรายกลุ่ม และรายบุคคล เช่น การค้นคว้าวัตถุประสงค์ของสินค้าอุปโภคบริโภค การ 
     ยกตัวอย่าง การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
- การนำเสนอรายงาน
     4.3 สามารถทำงานอย่างเป็นระบบ และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
     - รายงานที่นำเสนอ และ สังเกตุพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
     - รายงานการศึกษาด้วยตนเอง
4.2.1   จัดกิจกรรมรายบุคคล และกิจกรรมที่เน้นการทำงานเป็นกลุ่ม
4.2.2   สอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบ การมีมนุษยสัมพันธ์ การเข้าใจวัฒนธรรมองค์กร
4.2.3  สอดแทรกกรณีศึกษา ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคม
4.3.1  สังเกตพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษารายบุคคล หรือขณะร่วมกิจกรรมกลุ่ม
4.3.2  ประเมินความรับผิดชอบในหน้าที่ งานที่ได้รับมอบหมาย


4.3.3  การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า หรือการประสานงาน หรือความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคม
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการ และเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
     - พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้น
เรียน
     - พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
     - พัฒนาทักษะในการสืบค้น ทั้งแหล่งให้ความรู้และข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
     - ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
     5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
     - มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง การจัดทำรายงาน และนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
     - นำเสนอโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
     5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
     - พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน โดยการค้นคว้าข้อมูลตามที่ได้รับมอบหมาย การออกแบบ รายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
5.2.1   จัดการเรียนการสอนที่ต้องอาศัยทักษะคอมพิวเตอร์ หรือเครื่องมือสื่อสาร
5.2.2   จัดการเรียนการสอนที่สืบค้นข้อมูล และเทคโนโลยีในการนำเสนองาน


5.2.3   จัดการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน การนำเสนอผลงาน
    5.3.1   ตรวจสอบกระบวนการคิดจากการปฏิบัติการ
    5.3.2   ตรวจสอบข้อมูลที่สืบค้น และการใช้เทคโนโลยีอย่างถูกต้อง


5.3.3  ทักษะการฟัง และการพูด จากการทำงานรายเดี่ยว หรือกลุ่มในการปฏิบัติการ ทักษะการเขียน การอ่านจากการเขียนรายงานภาคเอกสาร และผลการปฏิบัติ
  


สามารถใช้ทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานตนเอง
ด้วยวิธีตัตลอกแบบ ทำตามแบบและใบงาน การใช้กรณีศึกษา
โครงงานและศิลปนิพนธ์ สร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานไต้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ปัญญา ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญา และวัฒนธรรม มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ ค้นคว้า รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ แก้ปัญหา บูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่น มีความคิดสร้างสรรค์ และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม สามารถใช้ทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานตนเอง
1 BAAPD115 การออกแบบบรรจุภัณฑ์สินค้าอุปโภค
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.6, 1.7, 2.1, 2.4-2.6, 3.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 18 20% 20%
2 1.1, 1.6, 1.7, 2.1, 2.4-2.6, 3.2, 4.1- 4.6,5.3-5.4 ศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงานของตนเองคำถามท้ายบทเรียน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 50%
3 1.1-1.7,3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. กรมควบคุมมลพิษ. คู่มือการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม ECO Design Packaging. กรุงเทพ. 2550
2. ประชิต ทิณบุตร. การออกแบบบรรจุภัณฑ์. โอเดียนสโตร์. กรุงเทพ. 2531.
3. สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย. หลักการออกแบบบรรจุภัณฑ์. ศูนย์การบรรจุหีบไทย. กรุงเทพ. 2546.
4. สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย. คู่มือการใช้กระดาษเพื่อการหีบห่อ. ซีเอ็ด ยูเครชั่น. กรุงเทพ. 2545.
5. มยุรี ภาคลำเจียก. การออกแบบบรรจุภัณฑ์สินค้าอุปโภคบริโภค. กรุงเทพ. 2556
 1. กรณีศึกษา (Case Study) และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ บรรจุภัณฑ์สินค้าอุปโภคบริโภค
 3. งานวิจัยด้านบรรจุภัณฑ์
3.  หลักเกณฑ์การประกวดบรรจุภัณฑ์
เว็บไซด์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการสืบค้นรายวิชา เช่น
1.   http://www.mew6.com/composer/package/package_0.php
2.   http://www.polar-plastic.com/Knowledge_th_page1.html
3.   http://packagingcity.wordpress.com/
4.   http://www.bunjupun.com/archives/category/
5.   http://issuu.com/nartnarin
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและ
ความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
    - การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
    - การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
    - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
     - ข้อเสนอแนะผ่านเวปบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
 ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
    - การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน
    - ผลการสอบ
    - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 7.2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
    - สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
    - การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการ เรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจ สอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
    - ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 7.4
    - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหา
ที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ