เทคนิคการผลิตสื่อดิจิทัล

Digital Media Production Techniques

เพื่อเกิดการวิเคราะห์การเดินทางของลูกค้าและพฤติกรรมการรับรู้ของผู้บริโภค การออกแบบ การผลิต การนำเสนอ และการประเมินผลการใช้สื่อให้สอดคล้องกับเนื้อหาดิจิตัลทางการตลาด การเพิ่มมูลค่าด้วยเครื่องมือในการออกแบบและสร้างสื่อดิจิตัลประเภทต่างๆ การนำเสนอผ่านช่องทางการสื่อสารแลัสื่อสังคมทั้งแบบออฟไลน์และออนไลน์ เพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน
เพื่อให้นักศึกษาเกิดการวิเคราะห์การเดินทางของลูกค้าและพฤติกรรมการรับรู้ของผู้บริโภค การออกแบบ การผลิต การนำเสนอ และการประเมินผลการใช้สื่อให้สอดคล้องกับเนื้อหาดิจิตัลทางการตลาด การเพิ่มมูลค่าด้วยเครื่องมือในการออกแบบและสร้างสื่อดิจิตัลประเภทต่างๆ การนำเสนอผ่านช่องทางการสื่อสารแลัสื่อสังคมทั้งแบบออฟไลน์และออนไลน์ เพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน
การวิเคราะห์การเดินทางของลูกค้าและพฤติกรรมการรับรู้ของผู้บริโภค การออกแบบ การผลิต การนำเสนอ และการประเมินผลการใช้สื่อให้สอดคล้องกับเนื้อหาดิจิตัลทางการตลาด การเพิ่มมูลค่าด้วยเครื่องมือในการออกแบบและสร้างสื่อดิจิตัลประเภทต่างๆ การนำเสนอผ่านช่องทางการสื่อสารแลัสื่อสังคมทั้งแบบออฟไลน์และออนไลน์ เพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน
2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ สอนเสริมเป็นรายบุคคล (เฉพาะรายที่ต้องการเพิ่มเติม)
1.2   มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม 1.2.1  นักศึกษารู้จักประหยัด อดออม และมีความพอเพียงในการดำรงชีวิต 1.2.2  นักศึกษาเป็นผู้มีวินัย  1.2.3  นักศึกษาเป็นผู้มีความขยัน อดทน เพียรพยายาม ในการเรียนและการทำงาน 1.2.4  นักศึกษาเป็นผู้ตรงต่อเวลา 1.2.5  นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อวิชาชีพ สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.3   มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 1.3.1  นักศึกษามีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ 1.3.2  นักศึกษาสามารถปฏิบัติตนภายใต้กฎระเบียบและข้อบังคับ
 
สอดแทรกจริยธรรมในคาบเรียน และแทรกการสอนด้วยวิธีการเช็คชื่อในชั้นเรียน
เช็คชื่อเข้าชั้นเรียน และการจัดงานกลุ่มภายในชั้นเรียน
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ 2.1  มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง 2.1.1  นักศึกษาได้รับความรู้ และมีความเข้าใจหลักการ และทฤษฎี ในรายวิชาที่ศึกษา 2.1.2  นักศึกษามีความเข้าใจในการปฏิบัติที่สำคัญตามเนื้อหาของรายวิชาที่ศึกษา 2.1.3  นักศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในรายวิชาที่ศึกษา ร่วมกับความรู้ในรายวิชาอื่น ๆ ได้ 2.1.4  นักศึกษามีการพัฒนาความรู้ โดยการติดตามข้อมูลทางวิชาการอย่างต่อเนื่อง
บรรยายทฤษฎีผ่าน power point และศึกษาค้นคว้าจากกรณีศึกษา พร้อมกับนำเสนอในรูปแบบโปรแกรมชนิดต่างๆ
ทดสอบ กลางภาคและปลายภาค รวมถึง การวิเคราะห์กรณีศึกษาในชั้นเรียน
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา 3.1  สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง 3.1.1  นักศึกษามีความสามารถในการสืบค้นข้อมูลเพื่อประกอบการเรียนและการทำงานได้ 3.1.2  นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาตามสถานการณ์ทางธุรกิจอย่างสร้างสรรค์ 3.1.3  นักศึกษาสามารถสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อช่วยในการตัดสินใจได้อย่างเหมาะสม 3.3  คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษา และประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป 3.3.1  นักศึกษาได้ใช้ความคิดอย่างมีวิจารณญาณ และเป็นระบบในการแก้ไขปัญหา 3.3.2  นักศึกษาได้ใช้ความคิดอย่างสร้างสรรค์ และมีเหตุผลในการแก้ไขปัญหา 3.3.3  นักศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ และประสบการณ์ในรายวิชา เพื่อการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป
นำกรณีศึกษามาให้วิเคราะห์ สั่งรายงานกลุ่มเพื่อให้นักศึกษาค้นคว้าประกอบรายงานนำกรณีศึกษามาให้วิเคราะห์ สั่งรายงานกลุ่มเพื่อให้นักศึกษาค้นคว้าประกอบรายงาน
เก็บคะแนนในชั้นเรียน และจัดทำรายงาน
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา 4.1  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้ 4.1.1  นักศึกษามีภาวะความเป็นผู้นำ 4.1.2  นักศึกษามีภาวะความเป็นผู้ตาม 4.1.3  นักศึกษามีความสามารถในการทำงานเป็นทีม 4.1.4  นักศึกษามีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย 4.1.5  นักศึกษามีความเคารพต่อความคิดเห็นของผู้อื่น 4.1.6  นักศึกษาสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.1.7  นักศึกษาสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้ 
นำกรณีศึกษามาให้วิเคราะห์ สั่งรายงานกลุ่มเพื่อให้นักศึกษาค้นคว้าประกอบรายงาน
เก็บคะแนนในชั้นเรียน และจัดทำรายงาน
5.2  สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ 5.2.1  นักศึกษามีความสามารถในการเขียนรายงานเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพ และสร้างสรรค์ 5.2.2  นักศึกษามีความสามารถในการนำเสนอด้วยวาจาเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้องมีประสิทธิภาพ และสร้างสรรค์
นำกรณีศึกษามาให้วิเคราะห์ สั่งรายงานกลุ่มเพื่อให้นักศึกษาค้นคว้าประกอบรายงาน และนำมาเสนอหน้าชั้นเรียนเชิงสร้างสรรค์
เก็บคะแนนในชั้นเรียน และจัดทำรายงาน พร้อมนำเสนอ
6.2  สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม 6.1.1  นักศึกษาสามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้ในรายวิชา มาบูรณาการร่วมกับรายวิชาอื่น ในศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
สั่งรายงานเชิงบูรณาการ เพื่อปรับใช้ในรายงานและการนำเสนอ
ตรวจรายงานตามวัตถุประสงค์ที่ทำขึ้น
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 2 มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม 3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.2.1 นักศึกษารู้จักประหยัด อดออม และมีความพอเพียงในการดำรงชีวิต 1.2.2 นักศึกษาเป็นผู้มีวินัย 1.2.3 นักศึกษาเป็นผู้มีความขยัน อดทน เพียรพยายาม ในการเรียนและการทำงาน 1.3 มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 2.1 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง 3.1 สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง 3.3 คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษา และประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป 4.1 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้ 5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา 5.2 สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ 6.2 สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
1 BBABA662 เทคนิคการผลิตสื่อดิจิทัล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 2.3, 6.1 การทดสอบ - การสอบกลางภาค - การสอบปลายภาค 9 และ 18 การสอบกลางภาค 35% การสอบปลายภาค 35%
2 3.1, 3.3, 4.1, 4.4,5.2 วิเคราะห์กรณีศึกษา รายงาน และการนำเสนอ - รายงาน /งานที่มอบหมาย/กรณีศึกษา ตลอดภาคการศึกษา 20% 20%
3 1.2, 1.3 เช็คชื่อเข้าห้องเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
สุวิมล  แม้นจริง, ผศ., การจัดการการตลาด. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด, 2546. Kotler, Philip and Kelvin Keller.  Marketing  Management.  12th edition.  New Jersey : Pearson Education, 2006.
1.1  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 1.2  ข้อเสนอแนะจากนักศึกษาในชั้นเรียน
2.1  ผลการเรียนของนักศึกษา 2.2  การทวนสอบ
3.1  นำผลการประเมินจากนักศึกษา  ผลการเรียนรู้กิจกรรมการสอน
4.1  บันทึกหลังสอนรายคาบ 4.2  การแจ้งคะแนนสอบให้นักศึกษาทราบเป็นระยะ 4.3  ผลการเรียนรู้เชิงพฤติกรรม
5.1 ข้อเสนอแนะจากสถานประกอบการ เกี่ยวกับความรู้ ความสามารถของนักศึกษาที่สถานประกอบการต้องการ 5.2  บันทึกหลังสอนรายคาบ 5.3  ผลการเรียนรู้เชิงพฤติกรรม