ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปัญญาในการดำเนินชีวิต

Sufficiency Economy and Wisdom of Living

7.1 เข้าใจปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
7.2 เข้าใจพื้นฐานทางด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองที่มีต่อการพัฒนา
7.3 เข้าใจหลักธรรมาภิบาล
7.4 เข้าใจแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน
7.5 ประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
7.6 เห็นคุณค่าของการดำรงชีวิตโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ศึกษาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการประยุกต์ใช้ หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ หลักธรรมาภิบาล ภูมิปัญญา การคิดและการบริหารจัดการชีวิตอย่างรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยและกระแสสังคมโลก การบูรณาการวัฒนธรรมที่หลากหลายสู่การดำเนินชีวิต การมีจิตสาธารณะและรักษ์สิ่งแวดล้อม การอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุขบนพื้นฐานคุณธรรม จริยธรรม และหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง
3
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ความสัมพันธ์ระหว่างสังคม เศรษฐกิจ การเมือง กำเนิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ศาสตร์พระราชา หลักการทรงงาน แนวทางการประยุตก์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จากเกษตรทฤษฎีใหม่สู่โคก หนอง นา โมเดล จิตสาธารณะกับการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา active learning ค้นคว้า/แลกเปลี่ยนเรียนรู้/บรรยายสรุป active learning บรรยาย/ทำแบบึกหัด/ฝึกทักษะ ค้นคว้า/แลกเปลี่ยนเรียนรู้/บรรยายสรุป
1 GEBSO101 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปัญญาในการดำเนินชีวิต
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ภาควิชาการ การสอบย่อย การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค 3/9/17 ร้อยละ 50
2 ภาคผลงานที่มอบหมาย กิจกรรมเสริมทักษะระหว่างเรียน จำนวน 4 งาน 2/4/11/13 ร้อยละ 40
3 ภาคจิตพิสัย การเข้าชั้นเรียน ความตรงต่อเวลา มีระเบียบวินัย อ่อนน้อม 1-16 ร้อยละ 10
 

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
เอกสารประกอบการสอน
รหัสวิชา GEBSO101
รายวิชา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปัญญาในการดำเนินชีวิต
Sufficiency Economy and Wisdom of Living
 
 
 
เรียบเรียงโดย
ปิยะนุช  สินันตา
สาขาศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน
 
 
1. กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2549). พระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพมหานคร: หจก. อรุณการพิมพ์.
2. กรมส่งเสริมสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (2542). โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริและทฤษฎีใหม่
ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
3. กฤติกา เพี้ยนศรี (บก.). (2551). ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริกับการแก้ปัญหาสังคม. ค้นเมื่อ
20 เมษายน 2562, จาก http://www.m-society.go.th/edoc_detail.php?edocid=247
4. กลุ่มงานชีววิถีเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย. (2553). ชีววิถีเพื่อการพัฒนาอย่าง
ยั่งยืนสู่เศรษฐกิจพอเพียง. (พิมพ์ครั้งที่ 33). กรุงเทพมหานคร: กองผลิตสื่อการสื่อสารองค์การ ฝ่ายสื่อสารองค์การ กฟผ.
5. กลุ่มพัฒนากรอบแนวคิดทางทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. (2546). กรอบแนวคิดทาง
ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ .
6. เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2546). ภาพอนาคตและคุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์. กรุงเทพฯ: สำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
7. เกษม วัฒนชัย. (2555). การเรียนรู้ที่แท้และพอเพียง. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มติชน
8. คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2546). แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ. 2546-พ.ศ.
2550. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ.
9. คณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ, สำนักงาน. (2542).ประวัติศาสตร์
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
10. คณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ, สำนักงาน.. (2556). 4,350 การ
ทรงงานเพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชน. กรุงเทพฯ: บจก. สุขุมวิทมีเดีย มาร์เก็ตติ้ง.
11. โครงการฟื้นฟูลุ่มน้ำตามรอยพ่อ. (2564). การพัฒนาตามหลักกสิกรรมธรรมชาติสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง.
กรุงเทพมหานคร: บริษัท แอทโฟร์พริ้นท์ จำกัด.
12. จารุวรรณ ธรรมวัตร. (2543). ภูมิปัญญาลูกอีสาน. มหาสารคาม: โครงการตำรามนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
13. จิรายุ อิศรางกูล ณ อยุธยา. (2553). พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับการเพิ่มความสมดุลในการพัฒนา. (พิมพ์
ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์.
14. ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2552). สอนเด็กให้มีจิตสาธารณะ. กรุงเทพฯ: วี พรินท์ (1991)
15. ดร.วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร ราชบัณฑิต. (2549). พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับปัญหาเศรษฐกิจของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แสงดาว.
16. ทิศนา แขมณี. (2559). ถอดรหัสปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การสอนกระบวนการคิด. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
17. บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. (2542). การสร้างธรรมาภิบาล go๐d governance ในสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วิญญูชน.
18. ประเวศ วะสี. (2550). เศรษฐกิจพอเพียงและประชาสังคม แนวทางพลิกฟื้นเศรษฐกิจสังคม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน.
19. ปราณี ตันตยาบุตร. (2550). ภูมิปัญญาไทย. กรุงเทพฯ: คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
20. ปรียานุช ธรรมปิยา. (2555). วิกฤติเศรษฐกิจ 2540 กับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพ ฯ : ศูนย์สถานศึกษาพอเพียง มูลนิธิยุวสถิรคุณ.
21. ปิยบุตร หล่อไกรเลิศ. (2547). เศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ: เอเซียแปซิฟิคส์ พริ้นดิ้ง.
22. ปิยะนุช สินันตา. (2556). ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). น่าน: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน.
23. พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว. (2541). ข้าราชการไทย “ความสำนึกและอุดมการณ์”. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
24. พลาดิศัย สิทธิธัญกิจ. (2550). ในหลวงกษัตริย์นักพัฒนา : นวัตกรรมและปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพมหานคร: บุ๊คสไมล.
25. พิณนภา แสงสาคร. (2557). ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน. เชียงใหม่: โครงการตำรา แผนกวิชาสังคมศาสตร์ สาขาศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา วิทยาเขตภาคพายัพ จังหวัดเชียงใหม่ .
26. มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ. (2553). พัฒนากสิกรรมธรรมชาติสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพมหานคร: คณะบุคคล เดอะ พับบลิช.
27. มูลนิธิชัยพัฒนา. (2550). เศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานมูลนิธิชัยพัฒนา
28. มูลนิธิพระดาบส. (2559). คำสอนพ่อ ประมวลพระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง. (พิมพ์ครั้งที่ 13). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์กรุงเทพ
29. ยุทธ ศักดิ์เดชยนต์. (2522). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสังคมมนุษย์. (พิมพ์ครั้งที่ 4) . กรุงเทพฯ: อิมปริ้น
30. รงค์ ประพันธ์พงศ์. (2549). เศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สถาพรบุ๊คส์
31. ลัดดาวัลย์ เกษมเนตร และคณะ. (2547). รูปแบบการพัฒนานักเรียนระดับประถมศึกษาให้มีจิตสาธารณะ:การศึกษาระยะยาว. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ. สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์  มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
32. ศักดิ์ชัย เกียรตินาคิน. (2542). ภูมิปัญญาชาวบ้าน ยาชุดวิเศษในการพัฒนา. วารสารวัฒนธรรมไทย. 36(9) : 2-4.
33. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. (2554). ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
34. สถาบันพระปกเกล้า. (2548). วัดระดับการบริหารจัดการที่ดี. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้าโดยการสนับสนุนของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เสมาธรรม.
35. สถาบันพระปกเกล้า. (2557). ทศธรรม : ตัวชี้วัดการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี. กรุงเทพมหานคร:พิมพ์ลักษณ์.
36. สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์. (2542). การพัฒนาเศรษฐกิจและการเมืองไทย. กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.
37. สมพร เทพสิทธา. (2548). เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ. กรุงเทพฯ: บริษัท ธรรมสาร จำกัด.
38 สมศักดิ์ อมรสิริพงศ์. (2551). การวิเคราะห์การก่อเกิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้วยปฏิฐานนิยมและหลังปฏิฐานนิยม. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.
39. สำนักงานกองทุนการสร้างเสริมสุขภาพ และ มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์. (2549). คำสอนพ่อ ประมวลพระบรมราโชวาทและพระราชดำรัสเกี่ยวกับความสุขในการดำเนินชีวิต. กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ์กรุงเทพ.
40. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2544). ความอยู่ดีมีสุขของคนไทย 5 ปี หลังวิกฤตเศรษฐกิจ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: เพชรรุ่งการพิมพ์.
41. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2551). จากปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: เพชรรุ้งการพิมพ์.
42. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2544). แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 พ.ศ.2545-2549. กรุงเทพฯ: หจก.เม็ดทรายพริ้นติ้ง.
43. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2555). การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ.
44. สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ. (2552). การบริหารธุรกิจตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ.
45. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. ครูภูมิปัญญาไทยรุ่นที่ 3. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
46. สำนักพิมพ์วีทีเอสบุ๊คเซ็นเตอร์. (มปป ). เศรษฐกิจพอเพียงเกษตรกรรมยั่งยืนตามแนวโครงการพระราชดำริ 1-5 ไร่ พึ่งตนเอง. นนทบุรี: สำนักพิมพ์วีทีเอสบุ๊คเซ็นเตอร์.
47. สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ. (2555). ในหลวงของเรา. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พรินติ้ง แอนด์พับลิซซิ่ง.
48. สุนันทา แซมเพชร. (2547). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเรื่อง แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านอาชีพสำหรับครูประถมศึกษา จังหวัดสมุทรสงคราม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร
49. สุเมธ ตันติเวชกุล. (2543). ใต้เบื้องพระยุคลบาท. กรุงเทพมหานคร: มติชน.
50. เสรี พงศ์พิศ. (2536). ภูมิปัญญาชาวบ้านกับการพัฒนาชนบท เล่มที่ 1. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: อมรินทร์พรินติ้งแอนด์พับลิซซิ่ง.
51. อภิชัย พันธเสน. (2544). พุทธเศรษฐศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
52. อำพล เสนาณรงค์. (2541). ประมวลพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเกี่ยวกับทฤษฎีใหม่. กรุงเทพฯ.
53. อุดมพร อมรธรรม. (2559). ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงพระเจ้าอยู่หัว. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แสงดาว.
54. http://ktbwsk.bloespot.com/2013/08/blogpost 2686.html จิตสาธารณะ.
55. http://oknation.nationtv.tv/blog/nakamonTH/2016/09/25/entry-1 ยุทธศาสตร์.
56. http:/www. sufficiencyeconomy.org. โครงการวิจัยเศรษฐกิจพอเพียง.
57. http:/www.chaipattana.or.th มูลนิธิชัยพัฒนา. ทฤษฎีใหม่.
58. http:/www.chaipattana.or.th สรุปคำบรรยายเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ.
59. http:/www.trf.or.th สมภพ มานะรังสรรค์. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. วิกฤตเศรษฐกิจฟองสบู่และผลกระทบต่อประเทศไทย.
60. https://kkhdc.moph.go.th/intro/tammapipan.php หลักธรรมาภิบาล.
61. https://www.royaloffice.th/ จิตอาสา.
 
การสอบภาคทฤษฎี
การฝึกทักษะ
การมีส่วนร่วมในกิจกรรม
การแสดงออกทางพฤติกรรม
จากการประเมินผลการสอน
หลังการปิดาภาคการศึกษา