โครงงานออกแบบอุตสาหกรรม
Industrial Design Project
1.1 เข้าใจระเบียบขั้นตอนและวิธีการทำโครงงานออกแบบอุตสาหกรรม
1.2 เข้าใจการเขียนกรอบแนวคิดในการทำโครงงานออกแบบอุตสาหกรรม
1.3 มีทักษะในการค้นหาข้อมูลและเขียนโครงงานออกแบบอุตสาหกรรมได้อย่างถูกต้อง โดยใช้ความคิดรวบยอดในการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่แตกต่างกัน
1.4 มีทักษะในการนำเสนอความก้าวหน้าของโครงงานออกแบบอุตสาหกรรมได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
1.5 มีทักษะในการดำเนินงานตามขั้นตอนการทำงานโครงงานออกแบบอุตสาหกรรม
1.6 ตระหนักและเห็นคุณค่าของการทำโครงงานออกแบบอุตสาหกรรม
1.2 เข้าใจการเขียนกรอบแนวคิดในการทำโครงงานออกแบบอุตสาหกรรม
1.3 มีทักษะในการค้นหาข้อมูลและเขียนโครงงานออกแบบอุตสาหกรรมได้อย่างถูกต้อง โดยใช้ความคิดรวบยอดในการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่แตกต่างกัน
1.4 มีทักษะในการนำเสนอความก้าวหน้าของโครงงานออกแบบอุตสาหกรรมได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
1.5 มีทักษะในการดำเนินงานตามขั้นตอนการทำงานโครงงานออกแบบอุตสาหกรรม
1.6 ตระหนักและเห็นคุณค่าของการทำโครงงานออกแบบอุตสาหกรรม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ในการทำโครงงานออกแบบอุตสาหกรรม การค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ และในสถานประกอบการ ภาคสนามที่ดำเนินการรวบรวมข้อมูล การเขียนโครงงาน การเขียนรายงาน และการนำเสนอ
ปฏิบัติเกี่ยวกับ โครงงานรายบุคคลตามกระบวนการที่วางแผน เขียนเป็นรูปเล่ม นำเสนอผลการดำเนินโครงงาน และจัดแสดงผลงาน
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการนอกเวลาศึกษาปกติ
โดยติดต่อผ่านสื่อออนไลน์ต่างๆ ครั้งละไม่เกิน 45 นาที สัปดาห์ละ 3 ครั้ง (เฉพาะรายที่ต้องการ)
โดยติดต่อผ่านสื่อออนไลน์ต่างๆ ครั้งละไม่เกิน 45 นาที สัปดาห์ละ 3 ครั้ง (เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ เคารพในสิทธิของข้อมูลจากแหล่งที่ข้อมูล โดยอ้างอิงถึงผู้เขียน หรือ ภาพถ่ายที่นำมารายงาน
มีจิตสำนึกสาธารณะตระหนักในคุณค่าคุณธรรม และจริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมและสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
มีจิตสำนึกสาธารณะตระหนักในคุณค่าคุณธรรม และจริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมและสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
บรรยายพร้อมยกตัวอย่าง เกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรมและจริยธรรม
อภิปรายกลุ่ม วิเคราะห์งานและความสามารถในการทำงานเป็นทีมเพื่อการแก้ปัญหา
ฝึกความอดทนในการศึกษาให้ตระหนักถึงคุณค่าของตนเองและสังคม
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์งานและความสามารถในการแก้ไขปัญหาการเรียนรู้
1.3.4 การแก้ไขปัญหาด้วยคุณธรรม จริยธรรม การเสียสละ และความซื่อสัตย์สุจริต
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์งานและความสามารถในการแก้ไขปัญหาการเรียนรู้
1.3.4 การแก้ไขปัญหาด้วยคุณธรรม จริยธรรม การเสียสละ และความซื่อสัตย์สุจริต
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย อภิปราย การทำงาน การสังเกต ถาม-ตอบ แบบฝึกตามหน่วยเรียน ฝึกการวิเคราะห์ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยการศึกษาใช้วิธีการแก้ปัญหาและการทำโครงงาน โดยและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 สอบความก้าวหน้า โดยเน้นการวัดหลักการและทฤษฏีตามบทเรียน
2.3.2 สรุปผลการนำเสนอการค้นคว้าข้อมูล
2.3.3 การวิเคราะห์งานและการทำงานเป็นทีม
2.3.4 การทดสอบตามหน่วยเรียน
2.3.2 สรุปผลการนำเสนอการค้นคว้าข้อมูล
2.3.3 การวิเคราะห์งานและการทำงานเป็นทีม
2.3.4 การทดสอบตามหน่วยเรียน
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ รู้จักการวิเคราะห์ เปรียบเทียบ
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 มีการมอบงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่างๆ และ ให้นำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อประกอบ แนวคิดในการออกแบบงานในแต่ละสัปดาห์
3.2.2 มอบหมายงาน ฝึกปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม ตามกระบวนการออกแบบ อย่างมีขั้นตอน และความคิดสร้างสรรค์ อย่างมีระบบ
3.2.2 มอบหมายงาน ฝึกปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม ตามกระบวนการออกแบบ อย่างมีขั้นตอน และความคิดสร้างสรรค์ อย่างมีระบบ
3.3.1 สอบความก้าวหน้า โดยเน้นการวัดหลักการและทฤษฏีตามบทเรียน
3.3.2 จากการปฏิบัติงานตามบทเรียนภายในห้องเรียนและนอกห้องเรียน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
3.3.2 จากการปฏิบัติงานตามบทเรียนภายในห้องเรียนและนอกห้องเรียน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 ทำกิจกรรมกลุ่มเพื่อศึกษาข้อมูลวิเคราะห์วางแผนร่วมกันเป็นทีม
4.2.2 กำหนดให้มีการเก็บข้อมูลต้องประสาน ระหว่างบุคคล
4.2.3 การติดต่อประสานงานทั้งในหลักสูตร และผู้ติดต่อประสานงานในการทำโครงงาน
4.2.2 กำหนดให้มีการเก็บข้อมูลต้องประสาน ระหว่างบุคคล
4.2.3 การติดต่อประสานงานทั้งในหลักสูตร และผู้ติดต่อประสานงานในการทำโครงงาน
4.3.1 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.2 ประเมินจากผลงานที่มอบหมายให้
4.3.3 ประเมินจากความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วน ตามกำหนดเวลา
4.3.2 ประเมินจากผลงานที่มอบหมายให้
4.3.3 ประเมินจากความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วน ตามกำหนดเวลา
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง งานที่มอบหมายให้ โดยเน้นความถูกต้องของข้อมูล ภาพประกอบให้หาจากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากงานที่มอบหมายให้ และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.1.1 มีทักษะด้านออกแบบและใช้เครื่องมือปฏิบัติงานสองมิติ
6.1.2 มีทักษะในการสร้างหรือผลิตหุ่นจำลอง ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ
6.1.3 มีทักษะด้านแนวคิดทางการออกแบบ ด้านความงาม ด้านประโยชน์ใช้สอย
6.1.2 มีทักษะในการสร้างหรือผลิตหุ่นจำลอง ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ
6.1.3 มีทักษะด้านแนวคิดทางการออกแบบ ด้านความงาม ด้านประโยชน์ใช้สอย
มอบงานให้นักศึกษาฝึกทักษะด้านเขียนแบบและออกแบบ แนวความคิด ขั้นตอนการออกแบบ ประโยชน์ใช้สอย สัดส่ว การใช้งานของมนุษย์ วัสดุ อุปกรณ์ และโครงสร้าง กรรมวิธีการผลิต และการทำหุ่นจำลอง
6.3.1 ผลงานของนักศึกษาในแต่ละหน่วยเรียน โดยวัดจากเกณฑ์ประเมินผลงานออกแบบ
6.3.2 การสอบความก้าวหน้าและสอบป้องกันโครงงานออกแบบอุตสาหกรรม
6.3.3 วัดผลจากการประเมิน การนำเสนองานที่มอบหมายให้ ความถูกต้องของข้อมูล ผลงานต่างๆ
เกณฑ์คะแนน
80 - 100 A
76 - 79 B+
70 - 75 B
66 - 69 C+
61 - 65 C
56 - 60 D+
50 - 55 D
0 - 49 F
6.3.2 การสอบความก้าวหน้าและสอบป้องกันโครงงานออกแบบอุตสาหกรรม
6.3.3 วัดผลจากการประเมิน การนำเสนองานที่มอบหมายให้ ความถูกต้องของข้อมูล ผลงานต่างๆ
เกณฑ์คะแนน
80 - 100 A
76 - 79 B+
70 - 75 B
66 - 69 C+
61 - 65 C
56 - 60 D+
50 - 55 D
0 - 49 F
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรม จริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6. ทักษะพิสัย | |||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะตระหนักในคุณค่าคุณธรรม และจริยธรรม | 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ | 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมและสิ่งแวดล้อม | 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ | 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา | 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา | 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง | 3.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ | 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ | 4.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี | 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม | 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม | 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม | 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม | 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 6.1 มีทักษะด้านออกแบบและใช้เครื่องมือปฏิบัติงานสองมิติ | 6.2 มีทักษะในการสร้างหรือผลิตหุ่นจำลอง ผลิตภัณฑ์ต้นแบบ | 6.3 มีทักษะด้านแนวคิดทางการออกแบบ ด้านความงาม ด้านประโยชน์ใช้สอย |
1 | 43023458 | โครงงานออกแบบอุตสาหกรรม |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.3.2, 3.3.1 | ตรวจความก้าวหน้าครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ความก้าวหน้าครั้งที่ 2 / สอบป้องกัน | 4 8 | 15% 15% |
2 | 2.3.2, 3.3.2, 3.3.3, 4.3.1, 4.3.2, 5.3.1, 5.3.2 | การปฏิบัติงานและผลงาน / ความก้าวหน้าครั้งที่ 3 โครงงาน (Project-Based Learning) การจัดนิทรรศการ | ตลอดภาคการศึกษา ปลายภาคการศึกษา | 60% |
3 | 1.3.1 | การเข้าพบที่ปรึกษา การแต่งกาย การส่งงานตามเวลาที่กำหนด | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
เกษม สาหร่ายทิพย์. 2543. ระเบียบวิธีวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 3. นครสวรรค์: นิวเสรีนคร.
เกษม สาหร่ายทิพย์. 2540. สถิติประยุกต์สำหรับการวิจัย.พิมพ์ครั้งที่ 2.นครสวรรค์: นิวเสรีนคร.
ธีระชัย สุขสด. 2544. การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
นิรัช สุดสังข์. 2548. การวิจัยการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ โอเดียนสโตร์.
นวลน้อย บุญวงษ์. 2539. หลักการออกแบบ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บุญชม ศรีสะอาด. 2535. การวิจัยทางการวัดและประเมินผล,มหาสารคาม:คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, มหาสารคาม.
บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. 2531. การวิเคราะห์ความแปรปรวน:ประยุกต์เพื่อการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ: เจริญผล.
บุญเรียง ขจรศิลป์. 2530. วิธีวิจัยทางการศึกษา.กรุงเทพฯ:ฟิสิกส์เซ็นเตอร์การพิมพ์.
บุญส่ง นิลแก้ว. 2526. สถิติวิเคราะห์ทางสังคมศาสตร์.เชียงใหม่คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ประคอง กรรณสูต. 2522. สถิติประยุกต์สำหรับครู.พิมพ์ครั้งที่6.กรุงเทพฯ:ไทยวัฒนาพานิช.
เสรี วงษ์มณฑา. 2542. การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: ดวงกมลสมัย.
เกษม สาหร่ายทิพย์. 2540. สถิติประยุกต์สำหรับการวิจัย.พิมพ์ครั้งที่ 2.นครสวรรค์: นิวเสรีนคร.
ธีระชัย สุขสด. 2544. การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
นิรัช สุดสังข์. 2548. การวิจัยการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ โอเดียนสโตร์.
นวลน้อย บุญวงษ์. 2539. หลักการออกแบบ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บุญชม ศรีสะอาด. 2535. การวิจัยทางการวัดและประเมินผล,มหาสารคาม:คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, มหาสารคาม.
บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. 2531. การวิเคราะห์ความแปรปรวน:ประยุกต์เพื่อการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ: เจริญผล.
บุญเรียง ขจรศิลป์. 2530. วิธีวิจัยทางการศึกษา.กรุงเทพฯ:ฟิสิกส์เซ็นเตอร์การพิมพ์.
บุญส่ง นิลแก้ว. 2526. สถิติวิเคราะห์ทางสังคมศาสตร์.เชียงใหม่คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ประคอง กรรณสูต. 2522. สถิติประยุกต์สำหรับครู.พิมพ์ครั้งที่6.กรุงเทพฯ:ไทยวัฒนาพานิช.
เสรี วงษ์มณฑา. 2542. การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: ดวงกมลสมัย.
คู่มือโครงงานออกแบบอุตสาหกรรม หลักสูตรออกแบบอุตสาหกรรม มทร.ล้านนา
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำโครงงาน และบทความ งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับงานออกแบบอุตสาหกรรม
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 การจัดการเรียนการสอนออนไลน์
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน และการค้นคว้าด้วยตนเอง
3.1 การจัดการเรียนการสอนออนไลน์
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน และการค้นคว้าด้วยตนเอง
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุกปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุกปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ