โครงงานวิศวกรรมแม่พิมพ์
Tools and Die Engineering Project
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับการทบทวนชื่อโครงงาน ความเป็นมาของปัญหา วัตถุประสงค์ ขอบเขต ตามหัวข้อโครงงานในรายวิชา 34075398 การเตรียมโครงงานวิศวกรรมแม่พิมพ์ ศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง แนวทางการแก้ปัญหา ปฏิบัติการตามขั้นตอนและแผนการดำเนินงาน รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผล จัดทำรายงาน และนำเสนอโครงงานต่อคณะกรรมการสอบโครงงาน
เพื่อให้นักศึกษามีทักษะความเข้าใจ ในการที่จะการนำความรู้ ความเข้าใจในหลักการทางการวิศวกรรมแม่พิมพ์ มาวางแผน และการดำเนินโครงงานให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับการทบทวนชื่อโครงงาน ความเป็นมาของปัญหา วัตถุประสงค์ ขอบเขต ตามหัวข้อโครงงานในรายวิชา 34075398 การเตรียมโครงงานวิศวกรรมแม่พิมพ์ ศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง แนวทางการแก้ปัญหา ปฏิบัติการตามขั้นตอนและแผนการดำเนินงาน รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผล จัดทำรายงาน และนำเสนอโครงงานต่อคณะกรรมการสอบโครงงาน
- มีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์สุจริต และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ของสาขาวิชา มหาวิทยาลัย และข้อตกลงกับอาจารย์ผู้สอน
- สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กรสังคมและสิ่งแวดล้อม
- มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพและมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพรวม ถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรม
- บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
- การกำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่มโครงงาน
- การทดสอบความรู้
- สังเกตุ ตรวจสอบการเข้าปฏิบัติตามขั้นตอนและแผนการดำเนินงานในโครงงาน
- มีความรู้และความเข้าใจ ในการค้นคว้าบทความ งานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรมหรืองานทางวิศวกรรมแม่พิมพ์ วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐานและเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางวิศวกรรมแม่พิมพ์
- สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม
- สามารถใช้ความรู้ และทักษะในการวางแผนและเตรียมความพร้อมเพื่อการดำเนินงานโครงงานวิศวกรรมแม่พิมพ์
- บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
- ให้นักศึกษาวิเคราะห์และแก้ไขปัญหานำเสนอข้อมูล
- การทดสอบความรู้
- มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
- สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
- บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
- การกำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่มโครงงานเข้าปฏิบัติตามขั้นตอนและแผนการดำเนินงานในโครงงาน
- ให้นักศึกษาวิเคราะห์และแก้ไขปัญหานำเสนอข้อมูล
- การทดสอบความรู้
- สังเกตุ ตรวจสอบการเข้าปฏิบัติตามขั้นตอนและแผนการดำเนินงานในโครงงาน
- การนำเสนอผลงาน
- รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม
- มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
- การกำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่มโครงงานเข้าปฏิบัติตามขั้นตอนและแผนการดำเนินงานในโครงงาน
- สังเกตุ ตรวจสอบการเข้าปฏิบัติงานในการทำงานเป็นกลุ่ม
- การนำเสนอผลงานในลักษณะกลุ่ม
- สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยมาประกอบการเรียนรู้และฝึกปฏิบัติได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
- มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
- บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
- การกำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่มโครงงานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยมาประกอบการเรียนรู้และฝึกปฏิบัติ
- สังเกตุ ตรวจสอบการเข้าปฏิบัติงานในการทำงานเป็นกลุ่ม
- การนำเสนอผลงานในลักษณะกลุ่ม
- มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
- การกำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่มโครงงานเข้าปฏิบัติตามขั้นตอนและแผนการดำเนินงานในโครงงาน
- การทดสอบความรู้
- สังเกตุ ตรวจสอบการเข้าปฏิบัติงานในการทำงานเป็นกลุ่ม
- การนำเสนอผลงานในลักษณะกลุ่ม
- ผลงานที่ได้จากโครงงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | มีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์สุจริต และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ของสาขาวิชา มหาวิทยาลัย และข้อตกลงกับอาจารย์ผู้สอน | มีความรู้และความเข้าใจ ในการค้นคว้าบทความ งานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรมหรืองานทางวิศวกรรมแม่พิมพ์ วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐานและเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางวิศวกรรมแม่พิมพ์ | มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์ | สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ | สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยมาประกอบการเรียนรู้และฝึกปฏิบัติได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ | มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ | ||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ - การกำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่มโครงงาน | บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ - การกำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่มโครงงาน | บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ - การกำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่มโครงงาน | บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ - การกำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่มโครงงาน | บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ - การกำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่มโครงงาน | บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ - การกำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่มโครงงาน |
1 | ENGTD121 | โครงงานวิศวกรรมแม่พิมพ์ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | - มีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์สุจริต และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ของสาขาวิชา มหาวิทยาลัย และข้อตกลงกับอาจารย์ผู้สอน - สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กรสังคมและสิ่งแวดล้อม - มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพและมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพรวม ถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรม | - การทดสอบความรู้ - สังเกตุ ตรวจสอบการเข้าปฏิบัติตามขั้นตอนและแผนการดำเนินงานในโครงงาน | ตลอดภาคการศึกษา | 15% |
2 | - มีความรู้และความเข้าใจ ในการค้นคว้าบทความ งานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรมหรืองานทางวิศวกรรมแม่พิมพ์ วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐานและเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางวิศวกรรมแม่พิมพ์ | - สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม - สามารถใช้ความรู้ และทักษะในการวางแผนและเตรียมความพร้อมเพื่อการดำเนินงานโครงงานวิศวกรรมแม่พิมพ์ - การทดสอบความรู้ | ตลอดภาคการศึกษา | 20% |
3 | - มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์ | - สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ - การทดสอบความรู้ - สังเกตุ ตรวจสอบการเข้าปฏิบัติตามขั้นตอนและแผนการดำเนินงานในโครงงาน - การนำเสนอผลงาน | ตลอดภาคการศึกษา | 15% |
4 | - รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม - มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม | - สังเกตุ ตรวจสอบการเข้าปฏิบัติงานในการทำงานเป็นกลุ่ม - การนำเสนอผลงานในลักษณะกลุ่ม | ตลอดภาคการศึกษา | 15% |
5 | - สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยมาประกอบการเรียนรู้และฝึกปฏิบัติได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ - มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายได้อย่างถูกต้องเหมาะสม | - สังเกตุ ตรวจสอบการเข้าปฏิบัติงานในการทำงานเป็นกลุ่ม - การนำเสนอผลงานในลักษณะกลุ่ม | ตลอดภาคการศึกษา | 15% |
6 | - มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ - มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี | - การทดสอบความรู้ - สังเกตุ ตรวจสอบการเข้าปฏิบัติงานในการทำงานเป็นกลุ่ม - การนำเสนอผลงานในลักษณะกลุ่ม - ผลงานที่ได้จากโครงงาน | ตลอดภาคการศึกษา | 20% |
ศุภชัย อัครนรากุล.เอกสารประกอบการสอนวิชาโครงงานวิศวกรรมแม่พิมพ์.สาขาวิศวกรรมแม่พิมพ์.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.2553.
ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนวิชาโครงงานของ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น http://library.rmutl.ac.th/
1.1 การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 การประเมินผู้สอน และการเสนอแนะของนักศึกษา
2.1 การสังเกตการณ์สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
- ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์
- เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ