เทคโนโลยีการก่อสร้าง 2
Construction Technology 2
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการเขียนแบบ องค์ประกอบและรายละเอียดอาคารสาธารณะ การใช้วัสดุและวิธีก่อสร้าง โดยสามารถกำหนดรายละเอียดแบบด้วยภาษาสากล
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ในวิธีการก่อสร้าง คุณสมบัติของวัสดุก่อสร้างและสามารถเขียนแบบก่อสร้างได้
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการ วิธีการก่อสร้าง วัสดุก่อสร้าง องค์ประกอบและรายละเอียดของอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กสำหรับอาคารสาธารณะไม่เกิน 4 ชั้น ฝึกปฏิบัติการเขียนแบบ การขยายแบบ ครุภัณฑ์ ด้วยเครื่องมือเขียนแบบ
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1. มีจิตสำนึกสาะารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเองสังคมและสิ่งแวดล้อม
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ในรายวิชา สอนให้มีระเบียบวินัย ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรมในทุกวิชา ประเมินจากผลการดำเนินงานตามแผนการสอนและประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ นอกจากนี้อาจจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผุ้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึกประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
1. การทดสอบย่อย
2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
3. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
4. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
5. ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ
6. ประเมินจากแผนการดำเนินงานโครงงาน
7. ประเมินจากการฝึกงานหรือสหกิจศึกษา
1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
ใช้กรณีศึกษา การจัดทำโครงงาน การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูล การนำเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยวหรือกลุุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน การปฏิบัติงานของนักศึกษาและการนำเสนองาน
1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผุ้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม มอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันทำหน้าที่ผู้นำและผู้ตาม การเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผุ้อื่น การประสานงานกับบุคคลภายนอก การแสดงความคิดเห็นและการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองานและผลงานกลุ่มในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองและสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศให้นักศึกษาค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวลผล โดยการใช้ตัวเลขเพื่อการจัดการข้อมูลการนำเสนอที่เหมาะสมกับสภาพของผู้สื่อสาร
ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ประเมินจากการอธิบาย การนำเสนอ
1. มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
2. มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
3. มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอกแบบ ทำตามแบบและใบงาน การใช้กรณีศึกษา โครงงานและศิลปนิพนธ์ สร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 2 ความรู้ | 3 ทักษะทางปัญญา | 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5 ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6 ทักษะพิสัย | 1 คุณธรรม จริยธรรม | ||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 |
1 | BARIA302 | เทคโนโลยีการก่อสร้าง 2 |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | คุณธรรม จริยธรรม | - การประเมินจากการทำงานในชั้นเรียนของนักศึกษา | ตลอดภาคการศึกษา | 5% |
2 | ความรู้ | - ประเมินผลจากคะแนนเก็บตลอดทุกสัปดาห์ - วัดผลและให้คะแนนจากการส่งงานตรงต่อเวลาที่กำหนด | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
3 | ทักษะทางปัญญา | - วัดผลจาก งานสอบกลางภาคและปลายภาคโดยเน้นปฏิบัติในการเขียนภาพตามโจทย์ที่กำหนดให้ - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค | ตลอดภาคการศึกษา 9,18 | 25% |
4 | ทักษะ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ | - มีจิตสาธารณะ ใช้ความรู้ในวิชาชีพช่วยเหลือผู้อื่นและ งานสาธารณะประโยชน์ - การตรงต่อเวลา | ตลอดภาคการศึกษา | 5% |
5 | ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษาในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร ในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล ในการนำเสนอผลงาน | ตลอดภาคการศึกษา | 5% |
6 | ทักษะพิสัย | ปฏิบัติงานโดยใช้เครื่องมือในการออกแบบและ ใช้อุปกรณ์เครื่องมือในการปฏิบัติงานได้ | ตลอดภาคการศึกษา | 50% |
เอกสารประกอบการสอนวิชา Construction Technology 1
จรัญพัฒน์ ภูวนันท์. อาคารสูง. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2540
_______________. การก่อสร้างด้วยเหล็ก. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : อี.ที.พับลิชชิ่ง, 2543.
เฉลิม สุจริต. วัสดุและการก่อสร้างสถาปัตยกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540.
ชิง, ฟรานซิส ดี.เค., ก่อสร้างอาคารบรรยายด้วยภาพ แปลจาก Building Construction Illustrated โดย ทัต สัจจะวที. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2544.
มาลินี ศรีสุวรรณ, ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบอาคารสาธารณะประเภทต่างๆ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2542.
สิทธิโชค สุนทรโอภาส, เทคโนโลยีอาคาร. กรุงเทพฯ : สกายบุ๊คส์, 2543.
สุภาวดี รัตนมาศ. หลังคาในงานสถาปัตยกรรม. กรุงเทพฯ : นุยบุ๊คส์, 2543.
Architecture Gallery, Sketch up. (Online). Available: http://www.sketchup.com/product
/gallery.php?gid=89#top (Access date: 13 April 2003).
Angus,MacDonald, J. “Long-span Structures,” Architecture week. (Online). Available: http://www.architectureweek.com/2003/0326/building_1-2.html (Access date: 26 March 2003).
Arcila,Martha,T. Bridges. Spain : Atrium International, 2002.
Bagenal,Philip.and Meades,Jonathan. Great Buildings. UK : Salamander Books, 1990.
Gossel,Peter.and Leuthauser,Gabriele. Architure in the Twentieth Century. Germany : Benedikt Taschen, 1991.
Salvadori,Mario.and Heller,Robert. Structure in Architecture. New Jersey : Prentice-Hall, 1963.
จรัญพัฒน์ ภูวนันท์. อาคารสูง. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2540
_______________. การก่อสร้างด้วยเหล็ก. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : อี.ที.พับลิชชิ่ง, 2543.
เฉลิม สุจริต. วัสดุและการก่อสร้างสถาปัตยกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540.
ชิง, ฟรานซิส ดี.เค., ก่อสร้างอาคารบรรยายด้วยภาพ แปลจาก Building Construction Illustrated โดย ทัต สัจจะวที. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2544.
มาลินี ศรีสุวรรณ, ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบอาคารสาธารณะประเภทต่างๆ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2542.
สิทธิโชค สุนทรโอภาส, เทคโนโลยีอาคาร. กรุงเทพฯ : สกายบุ๊คส์, 2543.
สุภาวดี รัตนมาศ. หลังคาในงานสถาปัตยกรรม. กรุงเทพฯ : นุยบุ๊คส์, 2543.
Architecture Gallery, Sketch up. (Online). Available: http://www.sketchup.com/product
/gallery.php?gid=89#top (Access date: 13 April 2003).
Angus,MacDonald, J. “Long-span Structures,” Architecture week. (Online). Available: http://www.architectureweek.com/2003/0326/building_1-2.html (Access date: 26 March 2003).
Arcila,Martha,T. Bridges. Spain : Atrium International, 2002.
Bagenal,Philip.and Meades,Jonathan. Great Buildings. UK : Salamander Books, 1990.
Gossel,Peter.and Leuthauser,Gabriele. Architure in the Twentieth Century. Germany : Benedikt Taschen, 1991.
Salvadori,Mario.and Heller,Robert. Structure in Architecture. New Jersey : Prentice-Hall, 1963.
เอกสารประกอบการสอนวิชา Construction Technology 1
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
3. ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่สาขาฯ ได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
3. ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่สาขาฯ ได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
1. การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2. ผลการเรียนของนักศึกษา
3. การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
1. การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2. ผลการเรียนของนักศึกษา
3. การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
1. สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
2. การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
1. สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
2. การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
1. การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
2. มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
1. การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
2. มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
1. ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
2. เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์
1. ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
2. เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์