เคมีเชิงฟิสิกส์

Physical Chemistry

1. เข้าใจกฎและทฤษฎีของแก๊ส
2. เข้าใจกฎต่าง ๆ ทางอุณหพลศาสตร์
3. เข้าใจทฤษฏีต่างๆทางจลนศาสตร์เคมี
4. เข้าใจสมดุลระหว่างเฟส
5. เข้าใจสารละลายอิเล็กโทรไลต์
6. เข้าใจพื้นฐานทางสเปกโทรสโกปี
1. เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีทางเคมีเชิงฟิสิกส์
2. นักศึกษานำความรู้และทักษะไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง 3. เพื่อให้เนื้อหาสมบูรณ์สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับกฎและทฤษฎีของแก๊ส อุณหพลศาสตร์ จลนศาสตร์เคมี สมดุลระหว่างเฟส สารละลายอิเล็กโทรไลต์ พื้นฐานทางสเปกโทรสโกปี
Study and laboratory practice about law and theory of gas, thermodynamics, chemical kinetic, phase equilibrium, electrolyte solution, basic experiment of spectroscopy
- ให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
- ให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ได้ตลอดเวลา
มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย เน้นด้านต่าง ๆ ต่อไปนี้
- สอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมระหว่างการสอน
- กระตุ้นให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย และมีความซื่อสัตย์ในการสอบ
- กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เพื่อให้นักเรียนมีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา เคารพกฏระเบียบและข้อบังคับ
- มอบหมายงานรายบุคคลและงานกลุ่ม
- ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมการเข้าเรียน การเข้าปฏิบัติการ การส่งงานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินการนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
- มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
- สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
- สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
- การสอนแบบบรรยาย โดยใช้สื่อประกอบการสอนอย่างเหมาะสม
- การร่วมปภิปราย ตอบข้อซักถาม รวมทั้งการทำแบบฝึกหัดในห้องเรียน เพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ร่วมกัน
- การค้นคว้าและสืบค้นข้อมูล เพื่อให้นักศึกษามีทักษะการค้นหาข้อมูลจากสื่ออิเลคทรอนิคส์และบทความวิจัยที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน 
- มอบหมายงานรายบุคคลและงานกลุ่ม  
- ประเมินผลจากการสอบด้วยข้อสอบกลางภาคและปลายภาค
- ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย เช่น การนำเสนอ หรือ รายงาน
- มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ - มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
- การค้นคว้าข้อมูลเพื่อประกอบการจัดทำรายงาน โดยมอบหมายให้นักศึกษาทำความเข้าใจกับบทความหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ในรูปแบบภาษาอังกฤษ นำมาเสนอให้เพื่อนร่วมชั้นได้อภิปรายร่วมกัน
- มีการคิดวิเคราะห์สามารถนำความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญทางเคมีเชิงฟิสิกส์มาใช้แก้ปัญหาทั้งในวิชาการ วิชาชีพ และชีวิตประจำวัน โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 
- มีการการตั้งคำถามและการชี้ประเด็น รวมทั้งยกตัวอย่างประกอบในแต่ละหัวข้อ
- ประเมินจากรายงาน
- ประเมินจากการถามตอบในห้องเรียน การวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ การนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
- มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ - สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
- จัดการเรียนการสอนปฏิบัติการ เน้นรูปแบบการแก้ปัญหา และ การพัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน และผู้เรียนกับผู้สอน - มอบหมายงานกลุ่มและรายบุคคล - การนำเสนองาน และอภิปรายในชั้นเรียน
- ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
- การนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
- สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
- สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
- มีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการสืบค้นกรณีศึกษาและนำเสนองานที่ได้รับมอบหมายได้อย่างเหมาะสม
- ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย การทำรายงาน
- ประเมินจากการนำเสนอ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4
1 FUNSC206 เคมีเชิงฟิสิกส์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน 1-15 5%
2 ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา การทดสอบย่อย การสอบกลางภาค cและการสอบปลายภาค 2-18 50%
3 ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (Cognitive Skills) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ การนำเสนอผล และรายงาน การเรียนรู้จากการสรุปความรู้ ข้อมูลจากการค้นคว้า งานวิจัย 6, 15 30%
4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม การสังเกตจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายเป็นกลุ่ม การทำปฏิบัติการ 1-8, 10-16 5%
5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication Information Technology Skills) สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม - การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการสืบค้นกรณีศึกษาเกี่ยวกับเคมีฟิสิกส์กับวิชาชีพ - การนำเสนอโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม - เทคนิคการนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศหรือคณิตศาสตร์และสถิติ - ความสามารถในการอธิบายการอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน 1-16 10%
ดวงจันทร์ ขัดสีทะลี. เคมีเชิงฟิสิกส์, พิมพ์ครั้งที่ ๑ โรงพิมพ์นฤรัชการพิมพ์, ๒๕๔๙. (ปรับปรุง 2560) ดวงจันทร์ ขัดสีทะลี. ปฏิบัติการเคมีเชิงฟิสิกส์, พิมพ์ครั้งที่ ๑ โรงพิมพ์นฤรัชการพิมพ์, ๒๕๔๙. (ปรับปรุง 2560) Latham, J.L. , Jenkins, D.A., and Jones,G.R.H., Selected Experiments in Physical Chemistry. London: Butterworths, 1964. Atkins, P. .Physical chemistry (ELBS of 5th ed.), Oxfotd Unitversity Press, 1994.
Robert, Silbey J., and Robert, Alberty A., Physical Chemistry. 3rd ed. Massachusetts: John Willy & Sons, 2001. Shoemaker, D.P. , Garland, C.W., Steinfeld, J.I., and Nibler , J.W., Experiment in Physical Chemistry, 4th ed., New York : McGraw-hill , 1981.
Spectrophotometry, http://www.lpdlabservices.C0.uk/analytical technique.html. /
- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
- การสะท้อนคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน
- แบบประเมินรายวิชา
- แบบประเมินผู้สอน
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- นำผลการประเมินการสอนในข้อ 1 และ 2 เป็นแนวท่างการปรับปรุงการสอน
- ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนมีการทวนสอบผลการประเมินในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา เช่น การสอบถามนักศึกษา การตรวจผลงานของนักศึกษา การประเมินผลตามสภาพจริง การประเมินโดยนักศึกษา ผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลการประเมินในภาพรวม
- ปรับปรุงกระบวนวิชาในแต่ละปี ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
- ปรับปรุงกระบวนวิชาในแต่ละปี ตามผลการประเมินผู้สอนโดยนักศึกษา
- ปรับปรุงกระบวนวิชาในช่วงเวลาการปรับปรุงหลักสูตร