อาหารว่างเชิงธุรกิจ

Snacks for Business

1.1 มีความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอาหารว่าง                                                                                                                                                                                                             
1.2 รู้เกี่ยวกับการเลือกใช้วัสดุและอุปกรณ์ในการประกอบอาหาร อาหารว่าง
1.3 เข้าใจการแบ่งประเภทของอาหารว่าง
1.4 เข้าใจถึงธุรกิจที่มีอาหารเป็นส่วนสำคัญ
1.5 มีความเข้าใจและมีทักษะในการประกอบอาหารว่างเชิงธุรกิจ
เพื่อให้ศึกษาและฝึกปฏิบัติความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอาหารว่าง การเลือกใช้วัสดุและอุปกรณ์ในการประกอบอาหารว่าง การแบ่งประเภทของอาหารว่างมีทักษะในการประกอบอาหารว่างเชิงธุรกิจ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอาหารว่าง การเลือกใช้วัตถุดิบ วัสดุและอุปกรณ์ในการประกอบอาหารว่าง การแบ่งประเภทของอาหารว่าง การจัดเลี้ยงอาหารว่างในเชิงธุรกิจ การประกอบอาหารว่างและเครื่องดื่มในโอกาสต่างๆ
1. ทุกวันจันทร์ และอังคาร ห้องพักครูสาขาอุตสาหกรรมเกษตเวลา 10.00-16.00 น. หรือ ช่วงเวลานอกเวลาสอน
2. Email: suphattra.si@ku.th, ID Line: 0955370779
- มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
- มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
- มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
- เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- จัดการสอนแบบบรรยายเชิงทฤษฎีในแต่ละสัปดาห์
- กำหนดให้นักศึกษาแบ่งเวรรับผิดชอบในการทำความสะอาดชั้นเรียนที่ใช้ร่วมกันในชั้นเรียน
- มีการตรวจเช็คความตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่มที่ต้องประกอบอาหารไทย
-รับฟังการแสดงความคิดเห็นของเพื่อนในการทำงานกลุ่มร่วมกัน
- ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียน และการปฏิบัติการประกอบอาหารไทยที่ได้รับมอบหมายเป็นกลุ่มและรายบุคคล
- การส่งงานที่ได้รับมอบหมายและการเตรียมวัสดุในการทำงานกลุ่ม
- ตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งงาน
- ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในการให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมกลุ่มร่วมกัน
- มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
- สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
- สามารถบูรณาการความรู้กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
- ใช้การสอนแบบบรรยาย ร่วมกับการใช้สื่อทางเทคโนโลยี และเปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามและตอบคำถาม
- ใช้การสอนจากสื่อที่มีข้อมูลความเกี่ยวข้องทางด้านอาหารไทย
- การสอนด้วยการให้นักเรียนดัดแปลงสูตรอาหารให้ร่วมสมัยหรือเป็นการอนุรักษ์ตามเทศกาลและประเพณี
- การส่งงานการบ้านที่ได้รับมอบหมายและการเตรียมวัสดุในการทำงานกลุ่ม
- ตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งรายงาน
- ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในการให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมกลุ่มร่วมกัน
- สอบกลางภาค สอบปฏิบัติปลายภาค
- มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
- มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
- ใช้การสอนแบบบรรยาย ร่วมกับการใช้สื่อทางเทคโนโลยี และเปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามและตอบคำถาม
- ใช้การสอนจากสื่อที่มีข้อมูลความเกี่ยวข้องทางด้านอาหารไทย - การสอนด้วยการให้นักเรียนดัดแปลงสูตรอาหารให้ร่วมสมัยหรือเป็นการอนุรักษ์ตามเทศกาลและประเพณี
- การส่งงานการบ้านที่ได้รับมอบหมายและการเตรียมวัสดุในการทำงานกลุ่ม
- ตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งรายงาน
- ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในการให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมกลุ่มร่วมกัน
- สอบกลางภาค สอบปฏิบัติปลายภาค
- มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยามสังคมที่ดี
- มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
- สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- การมีปฏิสัมพันธ์ของนักศึกษาจากกิจกรรมการเรียนการสอนในชั่วโมงปฏิบัติการ
- มอบหมายงานกลุ่มจากกิจกรรมการเรียนการสอนในชั่วโมงปฏิบัติการ การทำงานกลุ่มร่วมกันในการฝึกปฏิบัติการอาหารว่าง
- การทำรายงานการปฏิบัติการแต่ละครั้ง
- มีส่วนร่วมในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียนประเมินการมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่จัดขึ้น
- เลือกใช้เครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสมกับเวลา
- สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
- ใช้ภาษาไทยได้ถูกต้อง
- การมอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศในการทำรายงาน
- การนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการฝึกปฏิบัติในแต่ละชั่วโมงปฏิบัติงาน
- ประเมินรายงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 BSCFN166 อาหารว่างเชิงธุรกิจ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การเตรียมความพร้อมทั้งวัสดุและอุปกรณ์ การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 15%
2 ด้านความรู้ สอบกลางภาค สอบปฏิบัติ สอบปลายภาค 9 16 17 5% 20% 10%
3 ด้านทักษะทางปัญญา สอบกลางภาค สอบปลายภาค ภาคปฏิบัติ 16 17 ตลอดภาคการศึกษา 30%
4 ด้านความสัมพันธ์ความรับผิดชอบ การสังเกตการณ์ปฏิบัติงาน และงานที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 15%
5 ด้านการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร เล่มปฏิบัติการสะสมผลงาน 1-16 5%
1. แม่บ้าน.  อาหารไทย.  กรุงเทพฯ: สำนักพิมพืแม่บ้าน.
2. แม่บ้าน.  2561.  อาหารว่าง.  กรุงเทพฯ: สำนักพิมพืแม่บ้าน.
3. เอกสารประกอบการสอน อาจารย์ ดร.ดลพร ว่องไวเวช.  วิชาอาหารว่าง (Snack).  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก.
4. เอกสารประกอบการสอน.  อาหารว่างเชิงธุรกิจ BSCFN166.  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก.
5. อัมรินทร์.  2555.  อาหารว่างมังสวิรัติ.  กรุงเทพฯ: อัมริทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, พิมพ์ครั้งที่ 1.
6. รติพร รัตนา.  2542.  อาหารว่าง.  กรุงเทพฯ: อักษรวัฒนา.
เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องหรือรายการทีวีที่เกี่ยวข้องกับการประกอบอาหารว่าง
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 1.1 รายงานผลการปฏิบัติการประกอบอาหารจากเล่มเอกสาร 1.2 ความสนใจและตั้งใจในการทำงาน 1.3 ผลการเรียนของนักศึกษา 1.4 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 1.1 รายงานผลการปฏิบัติการประกอบอาหารจากเล่มเอกสาร 1.2 ความสนใจและตั้งใจในการทำงาน 1.3 ผลการเรียนของนักศึกษา 1.4 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
หลังจากทราบผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้ 2.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 2.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก5 ปีหรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่เกิดขึ้นจริง