การสร้างคุณค่าร่วมกลยุทธ์ธุรกิจเพื่อสังคม

Creating Shared Value

1.1 รู้บทบาทการสร้างคุณค่าร่วมทางเศรษฐกิจ
1.2 เข้าใจบทบาทการสร้างคุณค่าร่วมทางเศรษฐกิจ
1.3 เข้าใจแนวทางในการดำเนินธุรกิจระหว่างสังคมและธุรกิจ
1.4 เข้าใจการสร้างคุณค่าเพื่อความสำเร็จในระยะยาวของธุรกิจและสังคม
1.5 เข้าใจการเชื่อมโยงกันระหว่างความต้องการของสังคมและธุรกิจ
เพื่อให้นักศึกษารู้บทบาทการสร้างคุณค่าร่วมทางเศรษฐกิจ รวมถึงเข้าใจบทบาทในการดำเนินธุรกิจ เพื่อการสร้างคุณค่าร่วมระหว่างธุรกิจและสังคม มีความเข้าใจการสร้างคุณค่าเพื่อความสำเร็จในระยะยาวเพื่อให้เชื่อมโยงกันระหว่างความต้องการของสังคมและธุรกิจ
ศึกษาถึงบทบาทการสร้างคุณค่าร่วมทางเศราฐกิจ โดยผ่านกิจกรรมทางสังคม เพื่อให้เกิดแนวทางการดำเนินธุรกิจที่ให้ความสำคัญเชื่อมโยงกันระหว่างความต้องการของสังคมและธุรกิจ กับสร้างคุณค่าเพื่อความสำเร็จระยะยาวและสังคมให้เกิดเป็นประโยชน์ร่วมกัน
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1.1 คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา
1.1.1 มีความซื่อสัตย์สุจริต ซื่อตรงต่อหน้าที่ ต่อตนเองและผู้อื่น ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่นและมีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม
1.1.2 มีความกตัญญู ความเสียสละ ความอดทน ความเพียรพยายาม
1.1.3 มีความพอเพียงเป็นหลักในการดำเนินชีวิต โดยยึดแนวความคิดพอประมาณ ความมีเหตุผลและการสร้างภูมิคุ้มกัน
1.1.4 มีความเคารพต่อกฎ ระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.5 มีจิตสำนึกและมีมโนธรรมที่แยกแยะความถูกต้อง ความดี และความชั่ว
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับทฤษฎีองค์การในรูปแบบต่างๆ
1.2.2 อภิปรายกลุ่ม
1.2.3 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
1.2.4 จัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ถึงวันที่ 1 กันยายน 2563
 
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1.1 มีความรู้ความเข้าใจภาพรวมการจัดการทรัพยากรมนุษย์ การวิเคราะห์งาน รวมถึงการวางแผนทรัพยากรมนุษย์
2.1.2 มีความรู้ความเข้าใจการสรรหาและการคัดเลือกบุคลากรและการเริ่มต้นงาน
2.1.3 มีความรู้ความเข้าใจพัฒนาการของการฝึกอบรมตลอดจนกระบวนการในการจัดฝึกอบรม
2.1.4 มีความรู้ความเข้าใจในอาชีพและพัฒนาการด้านอาชีพรวมถึงเข้าใจในตำแหน่งงานและการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งงาน
2.1.5 มีความรู้ความเข้าใจการประเมินผลการปฏิบัติงานและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อค่าตอบแทน
2.1.6 มีความรู้ความเข้าใจการบริหารสวัสดิการและผลประโยชน์รวมถึงอุบัติเหตุและความปลอดภัย
2.1.7 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวินัยและแรงงานสัมพันธ์
 
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา
3.1.1 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ต่อยอดกรอบความรู้เดิม สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษาและมีประสบการณ์เพื่อเกิดนวัตกรรม กิจกรรม หรือแนวทางในการบริหารธุรกิจใหม่ๆ
3.1.2 สามารถสืบค้น จำแนก และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ได้ซึ่งสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ในการแก้ไขปัญหา และตัดสินใจอย่างเหมาะสม
3.1.3 สามารถคิดค้นทางเลือกใหม่ๆ รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบที่เป็นผลจากทางเลือกอย่างรอบด้าน โดยการนำความรู้และประสบการณ์ประยุกต์ใช้
3.1.4 มีความกล้าในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์
3.2.1 การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2 อภิปรายกลุ่ม
3.2.3 วิเคราะห์กรณีศึกษา พร้อมทั้งการเสนอแนวทางการแก้ไข
3.2.4 การสะท้อนรูปแบบจากการนำเสนอผลงาน
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้ทฤษฎีเข้ากับการบริหารจัดการ
3.3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงาน
 
4.1.1 มีความสามารถในการประสานงาน มีมนุษยสัมพันธ์และสามารถสร้างสัมพันธภาพอันดีกับผู้อื่นด้วยพื้นฐานความเข้าใจถึงความแตกต่างของผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างมีจิตวิทยา
4.1.2 มีความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม การประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่แลคะวามรับผิดชอบพร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน ซึ่งเป็นการแสดงออกถึงความเป็นผู้นำที่มีความรับผิดชอบ
4.1.3 มีความกระตือรือร้นและความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความรับผิดชอบ ยอดรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งมีความเป็นผู้ตามในจังหวะที่เหมาะสม
4.1.4 มีความสามารถในการริเริ่มแสดงความคิดเห็นใหม่ๆ ที่อาจมีความแตกต่างอย่างสร้างสรรค์
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้ารูปแบบการจัดองค์การทางการบริหาร หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.3 การนำเสนอรายงาน
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1 สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติและการวิเคราะห์เชิงปริมาณมาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ
5.1.2 สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.3 สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐานและเทคโนโลยีระบบสารสนเทศที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน
5.1.4 สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายและสร้างความเข้าใจได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเรียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจา
5.1.5 สามารถสื่อสารด้วยบุคลิกภาพที่น่าเชื่อถือและสามารถเลือกใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับกลุ่มบุคคลที่มีพื้นฐานและแนวคิดที่หลากหลาย
5.1.6 ความสามารถนำเทคโนโลยีไปเป็นเครื่องมือในการสนับสนุนในการดำเนินงานและทราบถึงข้อจำกัดของเทคโนโลยี
5.1.7 ความสามารถนำเทคโนโลยีการสื่อสารแบบเครือข่าย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสารและดำเนินงาน
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ทางด้านบริหารธุรกิจ จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยมีการอ้างอิงแหล่งค้นคว้า
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะในการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพอย่างมืออาชีพ (Hands on)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 4,5,6 2 1 3,4,5,6,7,8,9 3 2,3,4,5 1 1 2,3,4,5,6,7 2,3,4,5,6 1 1 2,3,4,5
1 BBABA205 การสร้างคุณค่าร่วมกลยุทธ์ธุรกิจเพื่อสังคม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1,2 1-4 5 6-9 การทดสอบเก็บคะแนน การทดสอบย่อยครั้งที่ 1 การสอบกลางภาค การทดสอบย่อยครั้งที่ 2 การสอบปลายภาค 5 8 12 16 10% 30% 10% 20%
2 1-9 การวิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้าการนำเสนอรายงาน การทำรายงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1-9 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน การนำเสนอความคิดเห็น ตลอดภาคการศึกษา 10%
รพีพรรณ วงศ์ประเสริฐ. การสร้างคุณค่าร่วม แนวปฏิบัติที่ดีสู่สังคม. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ : ปีที่ 33 ฉบับที่ 3 ,2556
จีราวัฒน์ คงแก้ว.(2555) “เนสเล่” วิถีธุรกิจเพื่อ “แบ่งปัน” สืบค้นเมื่อ 15 ตุลาคม 60.
จำลักษณ์ ขุนพลแก้ว. (2550). การสร้างคุณค่าผ่านกระบวนการ CSR. Productivity World,12/(71), 82-86.
Bowen, H. (1953). Social Responsibility of the Businessman. Harper&Brothers.
Kotler, P. and Lee, N. (2009), ‘Up and Out of Poverty’: The Social Marketing Solution: Wharton School Publishing.
Porter, M.E. and Kramer, M.R. (2006) The Link between Competitive Advantage and Corporate Social Responsibility. Harvard Business Review.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐบาลและเอกชน