การอ่านแปลความ
Interpretive Reading
เพื่อให้นักศึกษาพัฒนาทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ เพื่อจับประเด็นสำคัญ วิเคราะห่ สรุป ตีความ จับเจตนาของข้อความที่อ่าน และประเมินทัศนคติของผู้เขียน
2.1 นำผลการประเมินรายวิชาจากครั้งก่อน มาปรับปรุงในแต่ละด้าน ดังนี้
ด้านการสอน - แนะนำนักศึกษาให้พัฒนาวิธีการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง จากตำรา/เอกสาร/ อินเตอร์เน็ตหรือแหล่งวิทยาการอื่น ๆ (4.0) ปรับปรุง โดยแนะนำแหล่งความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการอ่านเพิ่มเติมให่กับนักศึกษา
ด่านการประเมิน - ตำรา/เอกสารประกอบการสอน มีความหลากหลายและเพียงพอในการศึกษาค่นคว่า (4.0) ปรับปรุง โดยแนะนำแหล่งความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการอ่านเพิ่มเติมให่กับนักศึกษา
2.2 เพื่อปรับปรุงเนื้อหาและรูปแบบกิจกรรมการเรียนการสอน ให้เหมาะสมกับการจัดการเรียน การสอนทั้งในชั้นเรียนและในการสอนออนไลน์
ด้านการสอน - แนะนำนักศึกษาให้พัฒนาวิธีการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง จากตำรา/เอกสาร/ อินเตอร์เน็ตหรือแหล่งวิทยาการอื่น ๆ (4.0) ปรับปรุง โดยแนะนำแหล่งความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการอ่านเพิ่มเติมให่กับนักศึกษา
ด่านการประเมิน - ตำรา/เอกสารประกอบการสอน มีความหลากหลายและเพียงพอในการศึกษาค่นคว่า (4.0) ปรับปรุง โดยแนะนำแหล่งความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการอ่านเพิ่มเติมให่กับนักศึกษา
2.2 เพื่อปรับปรุงเนื้อหาและรูปแบบกิจกรรมการเรียนการสอน ให้เหมาะสมกับการจัดการเรียน การสอนทั้งในชั้นเรียนและในการสอนออนไลน์
ศึกษาการฝึกอ่านอย่างมีวิจารณญาณเพื่อจับประเด็นสำคัญ วิเคราะห่ สรุปความ ตีความ จับเจตนาของข้อความที่อ่าน และประเมินทัศนคติของผู้เขียน
- จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห่
- สร่างชั้นเรียนออนไลน่ เพื่อจัดการเรียนการสอนในสถานการณ่ที่ไม่ปกติ และเป็นช่องทาง ติดต่อกับนักศึกษา รวมถึงให้คำแนะนำแหล่งข้อมูลเพิ่มเติม และงานมอบหมายต่าง ๆ
- สร่างชั้นเรียนออนไลน่ เพื่อจัดการเรียนการสอนในสถานการณ่ที่ไม่ปกติ และเป็นช่องทาง ติดต่อกับนักศึกษา รวมถึงให้คำแนะนำแหล่งข้อมูลเพิ่มเติม และงานมอบหมายต่าง ๆ
ส่่งเสริมผู้เรียนให้พัฒนาคุณธรรมจริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการ โดยเน้นที่
1.1.1 มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ เคารพสิทธิและรับฟ่งความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ (ความรับผิดชอบรอง 1.5)
1.1.2 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบด้านคุณธรรม จริยธรรม ที่จะเกิดขึ้นกับบุคคล องค์กร และ สังคมจากการใช้เทคโนโลยีในการสื่อสาร (ความรับผิดชอบหลัก 1.6)
1.1.1 มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ เคารพสิทธิและรับฟ่งความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ (ความรับผิดชอบรอง 1.5)
1.1.2 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบด้านคุณธรรม จริยธรรม ที่จะเกิดขึ้นกับบุคคล องค์กร และ สังคมจากการใช้เทคโนโลยีในการสื่อสาร (ความรับผิดชอบหลัก 1.6)
1.2.1 เสริมสร้างทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ เคารพสิทธิและรับฟ่งความคิดเห็นของผู้อื่น เคารพใน คุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ โดยชี้ให้นักศึกษาเห็นถึงประโยชน่ของการพัฒนาทักษะการอ่าน การทำความเข้าใจในจุดประสงค์ของผู่เขียนข้อความที่อ่าน และการรับฟ่งความคิดเห็นของเพื่อนร่วมชั้น
1.2.2 เสริมสร้างความตระหนักในผลกระทบจากการใช่เทคโนโลยีสารสนเทศต่อบุคคล องค่กร และสังคม โดยคัดเลือกเรื่องที่เกี่ยวข้องกับผลกระทบของเทคโนโลยีมาเป็นข้อความในการฝึกทักษะการอ่าน
1.2.2 เสริมสร้างความตระหนักในผลกระทบจากการใช่เทคโนโลยีสารสนเทศต่อบุคคล องค่กร และสังคม โดยคัดเลือกเรื่องที่เกี่ยวข้องกับผลกระทบของเทคโนโลยีมาเป็นข้อความในการฝึกทักษะการอ่าน
1.3.1 ทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ เคารพสิทธิและรับฟ่งความคิดเห็นของผู้อื่น เคารพในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป่นมนุษย่ สังเกตจากการท ากิจกรรมในชั้นเรียน
1.3.2 ความตระหนักในผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ วัดจากความเข่าใจในเนื้อหา ของเรื่องเกี่ยวกับผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศที่อ่านในแบบฝ่กปฏิบัติ การสอบกลางภาค และ การสอบปลายภาค
1.3.2 ความตระหนักในผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ วัดจากความเข่าใจในเนื้อหา ของเรื่องเกี่ยวกับผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศที่อ่านในแบบฝ่กปฏิบัติ การสอบกลางภาค และ การสอบปลายภาค
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู่ความเข้าใจทั้งในด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติโดยเน้นให้นักศึกษา
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของรายวิชา สามารถบูรณาการความรู้ในรายวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร่อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสมและพัฒนาความรู้ ติดตาม ความก้าวหน้าทางวิชาการได่อย่างต่อเนื่อง (ความรับผิดชอบหลัก 2.1)
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการเรียน ประยุกต่ใช้ ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา และการแก้ไขปัญหาในชีวิตประจำวัน (ความรับผิดชอบหลัก 2.2)
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของรายวิชา สามารถบูรณาการความรู้ในรายวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร่อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสมและพัฒนาความรู้ ติดตาม ความก้าวหน้าทางวิชาการได่อย่างต่อเนื่อง (ความรับผิดชอบหลัก 2.1)
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการเรียน ประยุกต่ใช้ ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา และการแก้ไขปัญหาในชีวิตประจำวัน (ความรับผิดชอบหลัก 2.2)
ยึดหลักการเรียนการสอนแบบ Active learning โดย
2.2.1 ให้ความรู้แก่นักศึกษาแล้วให้ฝีกปฏิบัติตามกิจกรรมที่กำหนดในบทเรียน
2.2.2 คัดเลือกเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับปัญหาและสถานการณ่ทั่วไปในชีวิตประจำวัน
2.2.3 ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการอ่านแปลความทั้งในและนอกชั้นเรียนโดยศึกษาเพิ่มเติมออนไลน์
2.2.1 ให้ความรู้แก่นักศึกษาแล้วให้ฝีกปฏิบัติตามกิจกรรมที่กำหนดในบทเรียน
2.2.2 คัดเลือกเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับปัญหาและสถานการณ่ทั่วไปในชีวิตประจำวัน
2.2.3 ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการอ่านแปลความทั้งในและนอกชั้นเรียนโดยศึกษาเพิ่มเติมออนไลน์
2.3.1 ความรู้ด้านทฤษฎี วัดจากแบบฝึกปฏิบัติ/ การสอบกลางภาค / การสอบปลายภาค
2.3.2 ความรู้ด้านการปฏิบัติวัดจากผลงานจากกิจกรรมในชั้นเรียนและออนไลน์
2.3.2 ความรู้ด้านการปฏิบัติวัดจากผลงานจากกิจกรรมในชั้นเรียนและออนไลน์
พัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะในการประยุกต์ใช้ความรู้จากสิ่งที่เรียน โดยมุ่งเน่นที่ทักษะด้านการสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศจากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์อย่างเหมาะสมด้วยตนเอง (ความรับผิดชอบหลัก 3.1)
ยึดหลักการสอนที่เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ โดยมุ่งเน้นให้นักศึกษาได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัติ ทักษะด้านการสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศจากแหล่งต่าง ๆ และนำทักษะเหล่านั้นมาใช้ในการแก้ป่ญหาในสถานการณ์ต่างๆ อย่างเหมาะสม
2.3.1 ความรู้ด้านทฤษฎี วัดจากแบบฝึกปฏิบัติ/ การสอบกลางภาค / การสอบปลายภาค
2.3.2 ความรู้ด้านการปฏิบัติ วัดจากผลงานที่มอบหมายและกิจกรรมในชั้นเรียน
2.3.2 ความรู้ด้านการปฏิบัติ วัดจากผลงานที่มอบหมายและกิจกรรมในชั้นเรียน
ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง และสามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนหลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ความรับผิดชอบรอง 4.4 และ 4.5)
จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมแบบกลุ่มในชั้นเรียน กระตุ้นให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นต่อข้อเขียนต่าง ๆ ที่อ่าน และอภิปรายเพื่อหาข้อสรุปร่วมกันในชั้นเรียน
สังเกตจากความสนใจ ความตั้งใจ และการมีส่วนรวมของนักศึกษาในกิจกรรมกลุ่ม
ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้สามารถอธิบายและสร่างความเข่าใจ โดยใช่รูปแบบของสื่อ เทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได่อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมมีประสิทธิภาพและสร่างสรรค่ (ความรับผิดชอบรอง 5.2)
สาธิตตัวอย่างของการใช้สื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีในการนำเสนอที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ และส่งเสริมให้นักศึกษามีโอกาสได้ฝึกปฏิบัติการนำเสนอโดย ใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือทั้งในรูปแบบการเขียนและด้วยวาจา
สังเกตจากการฝึกปฏิบัติของนักศึกษาและการทำกิจกรรมในชั้นเรียน
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.5, 4.4, 4.5, 5.2 | การเข้าชั้นเรียน และการร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
2 | 1.6, 2.1, 2.2, 3.1 | แบบฝึกปฏิบัติในชั้นเรียน ผลการเรียนรู้ออนไลน์ การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค | 2-7, 9-16 8 17 | 40% 10% 20% 20% |
Mikulecky, Beatrice S. and Jeffries, Linda. 2014. Advanced Reading Power 4. NY: Pearson Education Inc.
เอกสารประกอบการสอนวิชาการอ่านแปลความ
1. Armstrong, Nathan. 2015. Speed Reading: The Comprehensive Guide to Speed Reading.
2. Blanchard, K and Root, C. 2005. Ready to Read Now. NY: Pearson Education, Inc.
3. Craven, Miles. 2003. Extending Reading Keys. Oxford: Macmillan Education.
4. Dyer, Brenda and Bushell Brenda. 2003. Global Outlook 1: High Intermediate Reading. New York: McGraw-Hill Co
5. Dyer, Brenda and Bushell Brenda. 2003. Global Outlook 2: Advanced Reading. New York: McGraw-Hill Co.
6. Engelhardt, Diane. 2013. Advanced English Reading and Comprehension. NY: McGraw-Hill Education.
7. Fry, Edward B. 2000. Reading Drills: Elementary Level. Illinois: NTC/Contemporary Publishing Group, Inc.
8. Fry, Edward B. 2000. Reading Drills: Middle Level. Illinois: NTC/Contemporary Publishing Group, Inc.
9. Fry, Edward B. 2000. Reading Drills: Advanced Level. Illinois: NTC/Contemporary Publishing Group, Inc.
10. Mikulecky, Beatrice S. and Jeffries, Linda. 1996. More Reading Power. USA: Addison-Wesley Publishing Company.
11. Mikulecky, Beatrice S. and Jeffries, Linda. 1997. Basic Reading Power. NY: Addison-Wesley Longman.
12. Mikulecky, Beatrice S. and Jeffries, Linda. 2007. Advanced Reading Power. NY: Pearson Education Inc.
13. Quinn, Arthur. 2010. Figures of Speech: 60 Ways to Turn a Phrase. New York: Routledge.
14. Wiener Harvey S. and Bazerman Charles. 2006. Basic Reading Skills Handbook. 6 th Edition. New York: Pearson Education, Inc.
15. เว็บไซต่ต่าง ๆ ซึ่งมีข่อมูลเกี่ยวกับการอ่าน และข่อมูลที่นักศึกษาสนใจ
2. Blanchard, K and Root, C. 2005. Ready to Read Now. NY: Pearson Education, Inc.
3. Craven, Miles. 2003. Extending Reading Keys. Oxford: Macmillan Education.
4. Dyer, Brenda and Bushell Brenda. 2003. Global Outlook 1: High Intermediate Reading. New York: McGraw-Hill Co
5. Dyer, Brenda and Bushell Brenda. 2003. Global Outlook 2: Advanced Reading. New York: McGraw-Hill Co.
6. Engelhardt, Diane. 2013. Advanced English Reading and Comprehension. NY: McGraw-Hill Education.
7. Fry, Edward B. 2000. Reading Drills: Elementary Level. Illinois: NTC/Contemporary Publishing Group, Inc.
8. Fry, Edward B. 2000. Reading Drills: Middle Level. Illinois: NTC/Contemporary Publishing Group, Inc.
9. Fry, Edward B. 2000. Reading Drills: Advanced Level. Illinois: NTC/Contemporary Publishing Group, Inc.
10. Mikulecky, Beatrice S. and Jeffries, Linda. 1996. More Reading Power. USA: Addison-Wesley Publishing Company.
11. Mikulecky, Beatrice S. and Jeffries, Linda. 1997. Basic Reading Power. NY: Addison-Wesley Longman.
12. Mikulecky, Beatrice S. and Jeffries, Linda. 2007. Advanced Reading Power. NY: Pearson Education Inc.
13. Quinn, Arthur. 2010. Figures of Speech: 60 Ways to Turn a Phrase. New York: Routledge.
14. Wiener Harvey S. and Bazerman Charles. 2006. Basic Reading Skills Handbook. 6 th Edition. New York: Pearson Education, Inc.
15. เว็บไซต่ต่าง ๆ ซึ่งมีข่อมูลเกี่ยวกับการอ่าน และข่อมูลที่นักศึกษาสนใจ
1.1 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.2 ข้อเสนอแนะที่อาจารย่ผู้สอนได้จากนักศึกษาผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ
1.2 ข้อเสนอแนะที่อาจารย่ผู้สอนได้จากนักศึกษาผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ
2.1 ข้อเสนอแนะจากกรรมการผู้ตรวจประเมินรายวิชา
2.2 ผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา
2.2 ผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา
3.1 นำผลการประเมินจากภาคเรียนที่ผ่านมา และข้อเสนอแนะจากการทวนสอบรายวิชา มาดำเนินการปรับปรุงเนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน ลักษณะของงานมอบหมาย สื่อประกอบการเรียน การสอน แบบฝึกปฏิบัติ และข้อสอบกลางภาค-ปลายภาค
3.2 นำแนวปฏิบัติในการออกแบบกิจกรรมตามหลักการ 21st Century Learning Design ของ Microsoft มาปรับใช้กับกิจกรรมที่กำหนดให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติ
3.2 นำแนวปฏิบัติในการออกแบบกิจกรรมตามหลักการ 21st Century Learning Design ของ Microsoft มาปรับใช้กับกิจกรรมที่กำหนดให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติ
4.1 ก่อนเริ่มการสอน มีการตรวจสอบมคอ.3 โดยหัวหน้าหลักสูตรและหัวหน้าสาขา ว่ามี มาตรฐานผลสัมฤทธิ์เป็นไปตามที่กำหนดไว้ในมคอ. 2 ของหลักสูตร
4.2 ในระหว่างการสอน มีการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามที่คาดหวังจากกิจกรรมการ เรียนรู้ต่าง ๆ ในรายวิชา และข้อสอบที่จะใช้สอบวัดผลสัมฤทธิ์ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ
4.3 หลังการสอน มีการตั้งคณะกรรมการตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบมคอ. 3 มคอ. 5 ข้อสอบ เกณฑ่การให้คะแนน ผลการเรียน และผลจากงานมอบหมาย
4.2 ในระหว่างการสอน มีการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามที่คาดหวังจากกิจกรรมการ เรียนรู้ต่าง ๆ ในรายวิชา และข้อสอบที่จะใช้สอบวัดผลสัมฤทธิ์ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ
4.3 หลังการสอน มีการตั้งคณะกรรมการตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบมคอ. 3 มคอ. 5 ข้อสอบ เกณฑ่การให้คะแนน ผลการเรียน และผลจากงานมอบหมาย
นำผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา มาวางแผนปรับปรุงการสอน และรายละเอียดของรายวิชาเพื่อให่เกิดคุณภาพมากขึ้น โดยมีการปรับปรุงรายวิชาทุกปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข่อ 1-4