การผลิต การส่ง และการจ่ายกำลังไฟฟ้า
Electric Power Generation Transmission and Distribution
1. เข้าใจโครงสร้างระบบไฟฟ้ากำลัง
2. เข้าใจหลักการโรงไฟฟ้าดีเซล โรงไฟฟ้าพลังไอน้ำ โรงไฟฟ้ากังหันแก๊ส โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วม โรงไฟฟ้าพลังน้ำ และโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
3. เข้าใจแหล่งพลังงานหมุนเวียนในการผลิตไฟฟ้า
4. เข้าใจชนิดของสถานีไฟฟ้าย่อย อุปกรณ์สถานีไฟฟ้าย่อย และการจัดวางอุปกรณ์สถานีไฟฟ้าย่อย
5. เข้าใจหลักการการป้องกันฟ้าผ่าสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อย
6. คำนวณแบบจำลองและพารามิเตอร์สายส่งไฟฟ้า
7. คำนวณหาความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันและกระแสไฟฟ้าในระบบไฟฟ้ากำลัง
8. เห็นความสำคัญของการผลิต การส่ง และการจ่ายกำลังไฟฟ้า
2. เข้าใจหลักการโรงไฟฟ้าดีเซล โรงไฟฟ้าพลังไอน้ำ โรงไฟฟ้ากังหันแก๊ส โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วม โรงไฟฟ้าพลังน้ำ และโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
3. เข้าใจแหล่งพลังงานหมุนเวียนในการผลิตไฟฟ้า
4. เข้าใจชนิดของสถานีไฟฟ้าย่อย อุปกรณ์สถานีไฟฟ้าย่อย และการจัดวางอุปกรณ์สถานีไฟฟ้าย่อย
5. เข้าใจหลักการการป้องกันฟ้าผ่าสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อย
6. คำนวณแบบจำลองและพารามิเตอร์สายส่งไฟฟ้า
7. คำนวณหาความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันและกระแสไฟฟ้าในระบบไฟฟ้ากำลัง
8. เห็นความสำคัญของการผลิต การส่ง และการจ่ายกำลังไฟฟ้า
มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงานจริง
ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างระบบไฟฟ้ากำลัง โรงไฟฟ้าดีเซล โรงไฟฟ้าพลังไอน้ำ โรงไฟฟ้ากังหันแก๊ส โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วม โรงไฟฟ้าพลังน้ำ โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ แหล่งพลังงานหมุนเวียน ชนิดของสถานีไฟฟ้าย่อย อุปกรณ์สถานีไฟฟ้าย่อย การจัดวางอุปกรณ์สถานีไฟฟ้าย่อย การป้องกันฟ้าผ่าสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อย แบบจำลองและพารามิเตอร์สายส่งไฟฟ้า และความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันและกระแสไฟฟ้าในระบบไฟฟ้ากำลัง
1
(1) เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
(2) มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
(3) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
(4) สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม
(5) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
(2) มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
(3) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
(4) สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม
(5) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบโดยในการทำงานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น เป็นต้น นอกจากนี้อาจารย์ผู้สอนทุกคนต้องสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนทุกรายวิชา รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดี ทำประโยชน์แก่ส่วนรวม เสียสละ
ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม
สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และประยุกต์ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ นอกจากนี้ควรจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
การทดสอบย่อย
การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
ประเมินจากโครงการที่นำเสนอ
ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
ประเมินจากรายวิชาสหกิจศึกษาหรือการฝึกงานทางวิศวกรรม
มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
กรณีศึกษาทางการประยุกต์ในสาขาวิชา
การอภิปรายกลุ่ม หรือการศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน
ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์ ส่งเสริมการเรียนรู้จากการแก้ปัญหา เป็นต้น
สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม
สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ
สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
สามารถทำงานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี
มีภาวะผู้นำ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
ส่งเสริมการเคารพสิทธิและการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
ประเมินพฤติกรรมภาวการณ์เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ พร้อมบันทึกพฤติกรรมเป็นรายบุคคล
ประเมินจากผลงานการอภิปรายและเสวนา
สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง
มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี
มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติ ประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสมเรียนรู้เทคนิค การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลายสถานการณ์ที่สามารถประยุกต์ใช้ในห้องปฏิบัติการ
ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูล และนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้อง และให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฎีการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้องทางวิศวกรรมศาสตร์
ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจำกัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่าง ๆ การอภิปราย กรณีศึกษาต่าง ๆ ที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านความมีเหตุผลและมีการบันทึกเป็นระยะ
มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน
สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ
สนับสนุนการเข้าร่วมกิจกรรมกับหน่วยงานภายในและภายนอก
จัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักศึกษา
สนับสนุนการทำโครงงาน
สหกิจศึกษา/ฝึกงานทางวิศวกรรมในสถานประกอบการ
มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
มีการใช้งานวิจัยของอาจารย์ประกอบการเรียนการสอน
มีการประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ
มีการประเมินโครงงานของนักศึกษา
มีการประเมินนักศึกษาในวิชาสหกิจศึกษา/ฝึกงานทางวิศวกรรม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | ด้านคุณธรรม จริยธรรม | ด้านความรู้ | ด้านทักษะทางปัญญา | ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต | มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม | มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ | สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม | มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน | มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี | มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม | สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง | สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม | สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้ | มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี | สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ | สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ | มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์ | สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ | สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม | สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ | สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง | รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ | มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม | มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี | มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติ ประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ | สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ | มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์ | สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้ |
1 | ENGEE164 | การผลิต การส่ง และการจ่ายกำลังไฟฟ้า |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.1-1.4 4.2,4.3,4.5 | การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน | 1-16 | 10% |
2 | 2.1-2.5 3.1-3.5 | ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค | 2-17 | 50% |
3 | 1.1-1.4 2.1-2.5 3.1-3.5 4.2,4.3,4.5 5.1-5.2, 5.4-5.5 | แบบฝึกหัด | 2-17 | 20% |
4 | 1.1-1.4 2.1-2.5 3.1-3.5 4.2,4.3,4.5 5.1-5.2, 5.4-5.5 | รายงานและการนำเสนอผลงาน | 2-7 | 20% |
วันไชย คำเสน. ระบบไฟฟ้ากำลัง. เชียงใหม่ : สยามพิมพ์นานา, 2564.
กรรณิการ์ พรมเสาร์. “กะเทาะเปลือกนิวเคลียร์”. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิโกมลคีมทอง, 2552.
ชัด อินทะสี. “การส่งและจ่ายกาลังไฟฟ้า” กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2554.
ชูลิต วัชรสินธุ์. “การศึกษาความเหมาะสมโครงการไฟฟ้าพลังน้ำ” กรุงเทพมหานคร: ฟิสิกส์เซนเตอร์, 2532.
ชำนิ ใจประดิษฐ์ธรรม. “การวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากำลังในงานวิศวกรรม” กรุงเทพมหานคร: ท้อป, 2552.
ตติยา ใจบุล. “พลังงานธรรมชาติ : สุดยอดพลังงาน” กรุงเทพมหานคร: ประพันธ์สาส์น, 2548.
โตศักดิ์ ทัศนานุตริยะ. “การผลิต การส่ง และจ่ายไฟฟ้า” กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2544.
นคร ทิพยาวงศ์. “เทคโนโลยีการแปลงสภาพชีวมวล” กรุงเทพมหานคร: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2552.
นภัทร วัจนเทพินทร์. “การผลิตไฟฟ้า โรงไฟฟ้า และพลังงานทดแทน” ปทุมธานี: สกายบุ๊ค, 2550.
นระ คมนามูล. “เทคโนโลยีพลังงานหมุนเวียน การพัฒนาไฟฟ้าพลังน้ำขนาดเล็ก” กรุงเทพมหานคร : สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย, 2546.
วัฒนา ถาวร. “โรงต้นกำลังไฟฟ้า” กรุงเทพมหานคร: ส.ส.ท., 2547.
สุวพันธ์ นิลายน. “โรงไฟฟ้านิวเคลียร์”. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554.
อนุตร จำลองกุล. “พลังงานหมุนเวียน” กรุงเทพมหานคร: โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์, 2545.
ชัด อินทะสี. “การส่งและจ่ายกาลังไฟฟ้า” กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2554.
ชูลิต วัชรสินธุ์. “การศึกษาความเหมาะสมโครงการไฟฟ้าพลังน้ำ” กรุงเทพมหานคร: ฟิสิกส์เซนเตอร์, 2532.
ชำนิ ใจประดิษฐ์ธรรม. “การวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากำลังในงานวิศวกรรม” กรุงเทพมหานคร: ท้อป, 2552.
ตติยา ใจบุล. “พลังงานธรรมชาติ : สุดยอดพลังงาน” กรุงเทพมหานคร: ประพันธ์สาส์น, 2548.
โตศักดิ์ ทัศนานุตริยะ. “การผลิต การส่ง และจ่ายไฟฟ้า” กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2544.
นคร ทิพยาวงศ์. “เทคโนโลยีการแปลงสภาพชีวมวล” กรุงเทพมหานคร: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2552.
นภัทร วัจนเทพินทร์. “การผลิตไฟฟ้า โรงไฟฟ้า และพลังงานทดแทน” ปทุมธานี: สกายบุ๊ค, 2550.
นระ คมนามูล. “เทคโนโลยีพลังงานหมุนเวียน การพัฒนาไฟฟ้าพลังน้ำขนาดเล็ก” กรุงเทพมหานคร : สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย, 2546.
วัฒนา ถาวร. “โรงต้นกำลังไฟฟ้า” กรุงเทพมหานคร: ส.ส.ท., 2547.
สุวพันธ์ นิลายน. “โรงไฟฟ้านิวเคลียร์”. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554.
อนุตร จำลองกุล. “พลังงานหมุนเวียน” กรุงเทพมหานคร: โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์, 2545.
กรรณิการ์ พรมเสาร์. “กะเทาะเปลือกนิวเคลียร์”. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิโกมลคีมทอง, 2552.
ชัด อินทะสี. “การส่งและจ่ายกาลังไฟฟ้า” กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2554.
ชูลิต วัชรสินธุ์. “การศึกษาความเหมาะสมโครงการไฟฟ้าพลังน้ำ” กรุงเทพมหานคร: ฟิสิกส์เซนเตอร์, 2532.
ชำนิ ใจประดิษฐ์ธรรม. “การวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากำลังในงานวิศวกรรม” กรุงเทพมหานคร: ท้อป, 2552.
ตติยา ใจบุล. “พลังงานธรรมชาติ : สุดยอดพลังงาน” กรุงเทพมหานคร: ประพันธ์สาส์น, 2548.
โตศักดิ์ ทัศนานุตริยะ. “การผลิต การส่ง และจ่ายไฟฟ้า” กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2544.
นคร ทิพยาวงศ์. “เทคโนโลยีการแปลงสภาพชีวมวล” กรุงเทพมหานคร: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2552.
นภัทร วัจนเทพินทร์. “การผลิตไฟฟ้า โรงไฟฟ้า และพลังงานทดแทน” ปทุมธานี: สกายบุ๊ค, 2550.
นระ คมนามูล. “เทคโนโลยีพลังงานหมุนเวียน การพัฒนาไฟฟ้าพลังน้ำขนาดเล็ก” กรุงเทพมหานคร : สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย, 2546.
วัฒนา ถาวร. “โรงต้นกำลังไฟฟ้า” กรุงเทพมหานคร: ส.ส.ท., 2547.
สุวพันธ์ นิลายน. “โรงไฟฟ้านิวเคลียร์”. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554.
อนุตร จำลองกุล. “พลังงานหมุนเวียน” กรุงเทพมหานคร: โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์, 2545.
ชัด อินทะสี. “การส่งและจ่ายกาลังไฟฟ้า” กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2554.
ชูลิต วัชรสินธุ์. “การศึกษาความเหมาะสมโครงการไฟฟ้าพลังน้ำ” กรุงเทพมหานคร: ฟิสิกส์เซนเตอร์, 2532.
ชำนิ ใจประดิษฐ์ธรรม. “การวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากำลังในงานวิศวกรรม” กรุงเทพมหานคร: ท้อป, 2552.
ตติยา ใจบุล. “พลังงานธรรมชาติ : สุดยอดพลังงาน” กรุงเทพมหานคร: ประพันธ์สาส์น, 2548.
โตศักดิ์ ทัศนานุตริยะ. “การผลิต การส่ง และจ่ายไฟฟ้า” กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2544.
นคร ทิพยาวงศ์. “เทคโนโลยีการแปลงสภาพชีวมวล” กรุงเทพมหานคร: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2552.
นภัทร วัจนเทพินทร์. “การผลิตไฟฟ้า โรงไฟฟ้า และพลังงานทดแทน” ปทุมธานี: สกายบุ๊ค, 2550.
นระ คมนามูล. “เทคโนโลยีพลังงานหมุนเวียน การพัฒนาไฟฟ้าพลังน้ำขนาดเล็ก” กรุงเทพมหานคร : สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย, 2546.
วัฒนา ถาวร. “โรงต้นกำลังไฟฟ้า” กรุงเทพมหานคร: ส.ส.ท., 2547.
สุวพันธ์ นิลายน. “โรงไฟฟ้านิวเคลียร์”. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554.
อนุตร จำลองกุล. “พลังงานหมุนเวียน” กรุงเทพมหานคร: โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์, 2545.
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบออนไลน์ของมหาวิทยาลัย
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยภาควิชา จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดทุกภาคการศึกษา ภาควิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอน/การวิจัยในชั้นเรียน และมอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนรายวิชาที่มีปัญหา ทำวิจัยในชั้นเรียนอย่างน้อยภาคการศึกษาละ 1 รายวิชา มีการประชุมอาจารย์ทั้งภาควิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของภาควิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของภาควิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าภาควิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป