ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
Introduction to Fashion, Textile, and Jewelry
1.1 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติ ประเภท ลักษณะ และคุณสมบัติ ของงานสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ
1.2 มีความรู้ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับธุรกิจทางด้านสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ
เพื่อปรับเนื้อหา และกระบวนการให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน และเป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับ สิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับไปเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องและ เพื่อให้สอดคล้องกับแนวโน้ม ด้านต่าง ๆ ที่มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาเกี่ยวกับประวัติของแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ ประเภทของงาน ลักษณะคุณสมบัติของงานแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับอัญมณี งานอุตสาหกรรมแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับธุรกิจแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
Study history of fashion, textile, and jewelry; types of works and characteristics of fashion, textile, and jewelry; industrial works in fashion, textile, and jewelry; basic principles of business in fashion, textile, and jewelry.
Study history of fashion, textile, and jewelry; types of works and characteristics of fashion, textile, and jewelry; industrial works in fashion, textile, and jewelry; basic principles of business in fashion, textile, and jewelry.
- อาจารย์ประจำรายวิชาประกาศเวลาให้คำปรึกษากับนักศึกษา
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษา 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1.2.1 บรรยายสอดแทรกเรื่องการมีทัศนคติที่ดี และยอมรับฟังความคิดเห็นของเพื่อนร่วมชั้น (ระบบออนไลน์)
1.2.2 จัดกิจกรรมให้นักศึกษาร่วมแสดงความคิดเห็น
การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในชั้นเรียน
2.1.1 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ไขปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างมีระบบ
2.1.2 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
2.2.1 บรรยาย อภิปราย การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา
2.2.2 ให้ติดตามค้นหาข้อมูลความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง และนำเสนอผลการศึกษาโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
สอบกลางภาค สอบปลายภาค และการนำเสนอรายงาน
3.1.1 สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ
3.1.3 สามารถบูรณาการความร้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้
3.2.1 มอบหมายรายงานที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์โดยใช้ความรู้ทั้งวิชาการและวิชาชีพ
3.2.2 จัดอภิปรายกลุ่มหรือการหาข้อมูลนอกเวลาเรียน 3.2.3 การสรุปผลการศึกษาค้นคว้ารายงานทางเอกสารและการรายงานกลุ่ม 3.2.4 การสะท้อนแนวคิดในการวิเคราะห์สังเคราะห์จากการรายงานผลการศึกษา
3.2.2 จัดอภิปรายกลุ่มหรือการหาข้อมูลนอกเวลาเรียน 3.2.3 การสรุปผลการศึกษาค้นคว้ารายงานทางเอกสารและการรายงานกลุ่ม 3.2.4 การสะท้อนแนวคิดในการวิเคราะห์สังเคราะห์จากการรายงานผลการศึกษา
3.3.1 ประเมินจากการคิดวิเคราะห์แก้ไขปัญหาและการนำเสนอผลงาน
3.3.2 ประเมินผลจากการทำงานกลุ่มที่ได้รับมอบหมายในแต่ละหัวเรื่อง
มีความรับผิดชอบต่องานของตนเองและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษาที่ต้องเกี่ยวข้องกับสังคม
4.2.2 มอบหมายรายงานกลุ่มโดยศึกษางานนอกสถานที่และการจัดองค์กรภายในกลุ่ม
4.2.3 การนำเสนอรายงานกลุ่มอย่างเป็นระบบโดยองค์กรภายในกลุ่ม
4.2.3 การนำเสนอรายงานกลุ่มอย่างเป็นระบบโดยองค์กรภายในกลุ่ม
4.3.1 ประเมินตนเอง และจากการรายงานในระบบออนไลน์
4.3.2 พิจารณาจากการเข้าร่วมกิจกรรมระบบออนไลน์และผลงานของนักศึกษา
4.3.3 พิจารณาจากผลการตอบข้อคำถามที่เกี่ยวกับการนำความรู้ไปช่วยเหลือสังคม
สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 มอบหมายงานให้นำเสนองานในระบบออนไลน์โดยใช้สื่อที่เหมาะสม
5.2.2 ประเมินจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการหาข้อมูล การอ้างอิง อย่างถูกต้องเหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากผลการนำเสนอโดยเลือกและใช้สื่ออย่างถูกต้องเหมาะสม
5.3.2 ประเมินจากผลการสืบค้นและอ้างอิงโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างถูกต้องเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | คุณธรรม จริยธรรม | ความรู้ | ทักษะทางปัญญา | ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเเละความรับผิดชอบ | ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม | มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น | มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ | รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรมและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง | มีความสามารถในการค้นคว้า แก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ | ความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม | มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา | สามารถค้นคว้า รวบรวม และประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ | สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ | สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ | มีความคิดสร้างสรรค์ และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน | มีภาวะผู้นำ เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมนุษยสัมพันธ์ที่ดี | มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ | สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง | สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไปตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ | สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
1 | BAATJ151 | ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.1.1, 1.1.2 | การสังเกตพฤติกรรม | 1-17 | ร้อยละ 10 |
2 | 2.1.1, 2.1.2 | การสอบกลางภาคและการสอบปลายภาค | 9 และ 17 | ร้อยละ 60 |
3 | 3.1., 3.3, 4.2, 4.3 5.1, 5.2 | การมอบหมายงาน การนำเสนองาน | 4, 8, 13 | ร้อยละ 30 |
สิ่งทอ
กฤตย์ เวียงอำพล. การออกแบบเขียนแบบ. กรุงเทพฯ : โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์. 2540.
เครือจิต ศรีบุญนาค. สุนทรียภาพของชีวิต. กรุงเทพฯ : เธิร์ดเวฟ เอ็ดดูเคชั่น. 2542.
เถาทอง. ศิลปะกับมนุษย์. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. 2532. หมั้นทรัพย์. การออกแบบเบื้องต้น. เชียงใหม่ : โชตนาพริ้นท์. 2521. บุญวงษ์. หลักการออกแบบ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2539. ยอดบางเตย. ออกแบบผลิตภัณฑ์. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์. 2538. ลี้สุวรรณ. ศิลปะกับชีวิต. กรุงเทพฯ : คอมแพคท์พริ้นท์. 2537. รังสินันท์. ความคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ : ธนะการพิมพ์. 2527.
บุญเยี่ยม แย้มเมือง. สุนทรียะทางทัศนศิลป์. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์. 2537. จีรพันธ์ สมประสงค์. ประวัติศิลปะ. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์. 2533. ดุษฎี สุนทราชุน. การออกแบบลายพิมพ์ผ้า. พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. 2531. พีนาลิน สาริยา. การออกแบบลวดลาย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. 2549. อัจฉราพร ไศละสูต. การออกแบบลวดลายผ้าและเทคนิคการพิมพ์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สหประชาพาณิช. 2524. แฟชั่น Alex Newman & Zakee Shariff . Fashion A to Z An illustrated dictionary . United Kingdom: Laurence King Publishing, 2009 Carol Brown. Fashion & Textiles The Essential Careers Guide. United Kingdom: Laurence King Publishing, 2010. Caroline Tatham & Julian Seaman . Fashion Design Drawing Course . United Kingdom: Thames & Hudson , 2010 Macarena San Martin. Patterns In Fashion . Spain: Paco Asensio , 2009 เครื่องประดับ นาทาชา อ๊อด ปัญญา, จนัญญา เตรียมอนุรักษ์. Jewelry Art and Design Journal Vol.1 No.1.2547 วรรณรัตน์ อินทร์อ่ำ. ศิลปะเครื่องประดับ. กรุงเทพมหานคร : โอ เอส พริ้นติ้ง เฮ้าส์. 2536 รงคกร อนันตศานต์. ยุคสมัยของเครื่องประดับ. กรุงเทพมหานคร : เคเอ็ม พับบลิชชิ่ง. 2551 Codina, C., The Complete Book of Jewelry Making. New York : Lark Books. 2006.
เถาทอง. ศิลปะกับมนุษย์. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. 2532. หมั้นทรัพย์. การออกแบบเบื้องต้น. เชียงใหม่ : โชตนาพริ้นท์. 2521. บุญวงษ์. หลักการออกแบบ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2539. ยอดบางเตย. ออกแบบผลิตภัณฑ์. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์. 2538. ลี้สุวรรณ. ศิลปะกับชีวิต. กรุงเทพฯ : คอมแพคท์พริ้นท์. 2537. รังสินันท์. ความคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ : ธนะการพิมพ์. 2527.
บุญเยี่ยม แย้มเมือง. สุนทรียะทางทัศนศิลป์. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์. 2537. จีรพันธ์ สมประสงค์. ประวัติศิลปะ. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์. 2533. ดุษฎี สุนทราชุน. การออกแบบลายพิมพ์ผ้า. พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. 2531. พีนาลิน สาริยา. การออกแบบลวดลาย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. 2549. อัจฉราพร ไศละสูต. การออกแบบลวดลายผ้าและเทคนิคการพิมพ์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สหประชาพาณิช. 2524. แฟชั่น Alex Newman & Zakee Shariff . Fashion A to Z An illustrated dictionary . United Kingdom: Laurence King Publishing, 2009 Carol Brown. Fashion & Textiles The Essential Careers Guide. United Kingdom: Laurence King Publishing, 2010. Caroline Tatham & Julian Seaman . Fashion Design Drawing Course . United Kingdom: Thames & Hudson , 2010 Macarena San Martin. Patterns In Fashion . Spain: Paco Asensio , 2009 เครื่องประดับ นาทาชา อ๊อด ปัญญา, จนัญญา เตรียมอนุรักษ์. Jewelry Art and Design Journal Vol.1 No.1.2547 วรรณรัตน์ อินทร์อ่ำ. ศิลปะเครื่องประดับ. กรุงเทพมหานคร : โอ เอส พริ้นติ้ง เฮ้าส์. 2536 รงคกร อนันตศานต์. ยุคสมัยของเครื่องประดับ. กรุงเทพมหานคร : เคเอ็ม พับบลิชชิ่ง. 2551 Codina, C., The Complete Book of Jewelry Making. New York : Lark Books. 2006.
ไม่มี
http://www.ttistextiledigest.com
http://www.thaitextile.org
www.git.or.th
www.git.or.th
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็น จากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนา และตอบข้อคำถามระหว่างผู้สอน และผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาของมหาวิทยาลัย
การสนทนา และตอบข้อคำถามระหว่างผู้สอน และผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาของมหาวิทยาลัย
2.1 สังเกตการเรียน ความตั้งใจของนักศึกษา และการสอบถามของนักศึกษา
2.2 การอภิปราย การรายงาน การนำเสนอของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียน
2.3 การตอบข้อสอบกลางภาคและปลายของนักศึกษา
2.4 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 การวิเคราะห์ผลการประเมินแล้วเรียงลำดับความสำคัญ หาปัญหา และแนวทางแก้ไข
3.2 ประชุมผลและวางแผนการจัดการเรียนการสอนเมื่อสิ้นภาคเรียน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา
4.2 การตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจ สอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุกปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือปรับวิธีการสอน เพื่อให้นักศึกษาได้รับมุมมอง วิธีการ และรายละเอียดเนื้อหาที่หลากหลายเหมาะสมและทันกับสภาวะปัจจุบัน