การวางแผนและควบคุมการผลิต
Production Planning and Control
เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจหลักการพื้นฐานของระบบผลิต และการพยากรณ์ความต้องการของลูกค้าเพื่อการผลิต
มีความเข้าใจหลักการควบคุมสินค้าคงคลัง การหาปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่ส่งผลถึงการควบคุมต้นทุนในการผลิต
มีความสามารถในการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการวางแผนการผลิต การปรับแผนการผลิต การกำหนดตารางการผลิตหลัก และการวางแผนความต้องการวัสดุ
มีความสามารถในการจัดลำดับงาน การจัดสมดุลสายการผลิตและการวางแผนโครงการ และประยุกต์ใช้ระบบการผลิตแบบลีนในการแก้ปัญหาอุตสาหกรรม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษาทางด้านรูปแบบการผลิต การพยากรณ์ความต้องการ การวางแผนการผลิตรวม การวางแผนกำลังการผลิตและวัสดุ การจัดการวัสดุคงคลัง การจัดลำดับงาน และการวางแผนโครงการ สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการวางแผนและควบคุมการผลิตในภาคอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องได้
ศึกษาเกี่ยวกับบทบาทลักษณะของการวางแผนและการควบคุมการผลิต การไหลเวียนของข้อมูลในระบบควบคุมการผลิต เทคนิคการพยากรณ์ การวางแผนกระบวนการผลิต การวิเคราะห์ต้นทุนและผลกำไรเพื่อใช้ในการตัดสินใจ การวางแผนบริหารความต้องการวัสดุ การหาปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด การจัดตารางการผลิต การควบคุมสินค้า คงคลัง การกำหนดการผลิตการควบคุมการผลิตเชิงปริมาณ การบริหารและจัดการ ห่วงโซ่อุปทานเบื้องต้น ตลอดจนการประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการวางแผนและควบคุมการผลิต
--อาจารย์ประจำรายวิชาประกาศเวลาให้คำปรึกษาในชั่วโมงว่างของการเรียน
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบวินัยและ
ข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.2 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.3 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพและมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพรวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
อาจารย์เป็นแบบอย่างที่ดีของนักศึกษา มอบหมายงานกลุ่มและนำเสนอผลงาน สอดแทรกแนวคิดเรื่องระเบียบวินัย ปลูกฝังให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงการเคารพ
ระเบียบข้อบังคับ
ระเบียบข้อบังคับ
1.3.1 ประเมินผลจากการเข้าเรียน
1.3.2 ประเมินผลการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตและตรงเวลา
1.3.3 สังเกตพฤติกรรมการตอบข้อซักถามและการยกตัวอย่างเปรียบเทียบใน ด้านการรักษากฎระเบียบวินัยในการอยู่ร่วมกันในสังคมองค์กรให้เห็นความมีคุณค่า มีเกียรติ รู้สึกภูมิใจในตนเองและสถาบัน
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐานและเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรมอุตสาหการ
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม
2.1.5 สามารถใช้ความรู้ และทักษะในสาขาวิชาของตนในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
2.2.1 บรรยายหลักการ ทฤษฎี ตามคำอธิบายรายวิชา อภิปรายระหว่างอาจารย์และนักศึกษา
2.2.2 ยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้หลักการวางแผนและควบคุมการผลิตเพื่อให้นักศึกษาเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น
2.2.3 มอบหมายงานเป็นกลุ่ม
2.2.4 สรุปเนื้อหาบทเรียน
2.2.3 มอบหมายงานเป็นกลุ่ม
2.2.4 สรุปเนื้อหาบทเรียน
2.3.1 ให้โจทย์ปัญหา ทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาคด้วยข้อสอบ
3.1.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
3.1.2 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1.3 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.1.4 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
3.2.1 มอบหมายงาน
3.3.1 พิจารณาจากผลงานที่มอบหมาย
3.3.2 สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นเหมาะสม
4.1.2 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1.3 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
4.1.4 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
4.2.1 มอบหมายโจทย์ให้ทำร่วมกันเป็นกลุ่ม, รายบุคคล และมีการนำเสนอวิธีการแก้ปัญหาโจทย์แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
4.3.1 ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานที่ได้รับมอบหมาย
4.3.2 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาระหว่างการเรียนและการนำเสนอผลงาน
5.1.1 มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี
5.1.2 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
5.1.3 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
5.2.1 นำเสนอผลงานในชั้นเรียน โดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.2 ทดลองใช้โปรแกรมทางคอมพิวเตอร์มาคำนวณในการแก้ปัญหาโจทย์ต่างๆ
5.2.3 อธิบายวิธีการใช้เครื่องคำนวณในส่วนของเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง
5.3.1 ผลจากการประเมินผลการแจ้โจทย์ปัญหาและการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
5.3.2 ผลจากการสังเกตพฤติกรรม ในการร่วมกันแก้ปัญหาโจทย์โดยใช้โปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ในเรื่องของการพยากรณ์ การจัดการสินค้าคงคลัง เป็นต้น
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.2.1 มอบหมายงานให้นักศึกษาและกำหนดระยะเวลาในการส่งงาน
6.2.2 การใช้เครื่องมืออุปกรณ์อย่างถูกวิธีและการบำรุงรักษา
6.3.1 นักศึกษาส่งงานตามระยะเวลาที่กำหนด
6.3.2 มีการกำหนดคะแนนในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ความรู้ | ทักษะทางปัญญา | ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ | ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ทักษะพิสัย | |||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 3 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 |
1 | ENGIE116 | การวางแผนและควบคุมการผลิต |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.1.1 2.1.2 3.1.1 | สอบกลางภาค , สอบปลายภาค | 10 , 17 | 35% , 35% |
2 | 1.3.1 4.2.1 | การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน | ตลอดปีการศึกษา | 10% |
3 | สอบเก็บคะแนน | ตลอดปีการศึกษา | 20% |
เกษม พิพัฒน์ปัญญานุกูล. การควบคุมคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ท้อป, 2557.
จิรพัฒน์ เงาประเสริฐวงศ์. การวิเคราะห์ต้นทุนอุตสาหกรรมและการจัดทำงบประมาณ. พิมพ์ครั้งที่ 4, สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557.
จักรกฤษณ์ ภูพานเพชร. การลดข้อร้องเรียนจากลูกค้าและค่าใช้จ่ายคุณภาพด้วยเครื่องมือควบคุมคุณภาพยุคใหม่. วิทยานิพนธ์, สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ, คณะวิศวกรรมศาสตร์, 2552.
ชุมพล ศฤงคารศิริ. การวางแผนและควบคุมการผลิต. พิมพ์ครั้งที่ 25, กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2557.
ณัฎฐพันธ์ เขจรนันทน์. การจัดการผลิตและการดำเนินการ. พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542.
ณฐา คุปตัษเฐียร. การวางแผนและควบคุมการผลิต. พิมพ์ครั้งที่ 1, ห้างหุ้นส่วนจำกัด ภาพพิมพ์, 2549.
ธิดาเดียว มยุรีสวรรค์. สถิติสำหรับวิศวกรรมและวิทยาศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 6, กรุงเทพฯ: ศูนย์ผลิตตำราเรียน, 2533.
บรรหาญ ลิลา. การวางแผนและควบคุมการผลิต. พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ท้อป: กรุงเทพฯ, 2553.
บุษบา พฤกษาพันธุ์รัตน์. การวางแผนและควบคุมการผลิต. พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ท้อป, 2552.
ประจวบ กล่อมจิตร. โลจิสติกส์: การออกแบบและการจัดการเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2556.
ประเวศ ยอดยิ่ง. ระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9000. พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2542.
ปรียาวดี ผลอเนก. การบริหารการผลิต. พิมพ์ครั้งที่ 1, สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555.
ปรเมศ ชุติมา. การประยุกต์เทคนิคการจัดตารางในอุตสาหกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551.
พจมาน เตียวัฒนรัฐติกาล. การบริหารและจัดการองค์กรอุตสาหกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 5, กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2550.
พิชิต สุขเจริญพงษ์. การจัดการวิศวกรรมการผลิต. พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2540.
พิภพ ลลิตาภรณ์. ระบบการวางแผนและควบคุมการผลิต. พิมพ์ครั้งที่ 11, กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2548.
พิภพ ลลิตาภรณ์. การวางแผนและควบคุมการผลิต. พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2556.
ยุทธ ไกยวรรณ. การบริหารการผลิตในงานอุตสาหกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ, 2545.
ยุทธ ไกยวรรณ. การวางแผนและควบคุมการผลิต. พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ: บริษัทพิมพ์ดี, 2549.
เยาวพา ณ นคร. การบัญชีต้นทุน 1. พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2545.
โยชิโนบุ และคณะ. 7 new QC tools เครื่องมือสู่คุณภาพยุคใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2541.
เรืองวิทย์ เกษสุวรรณ. การจัดการคุณภาพ: จาก TQC ถึง TQM, ISO 9000 และการประกันคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์, 2545.
วิจิตร ตัณฑสุทธิ์, วันชัย ริจิรวนิช, จรูญ มหิทธาฟองกุล และชูเวช ชาญสง่าเวช. การศึกษาการทำงาน. พิมพ์ครั้งที่ 9, กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์, 2550.
วิชัย แหวนเพชร. การวางแผนและควบคุมการผลิต. พิมพ์ครั้งที่ 4, หจก. ธรรกมลการพิมพ์, 2547.
ศุภชัย ปทุมนากุล. การวางแผนและควบคุมการผลิต. พิมพ์ครั้งที่ 1, โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา, 2555.
ศุภชัย นาทะพันธ์. การควบคุมคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2551.
ศิริพงษ์ ลดาวัลย์ ณ อยุธยา. การบริหารคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 1, เชียงใหม่: ธนุชพริ้นติ้ง, 2550.
ศิริลักษณ์ สุวรรณวงศ์. เทคนิคการพยากรณ์เชิงปริมาณ: การวิเคราะห์อนุกรมเวลา. พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556.
เสาวนิตย์ จันทนโรจน์ และวิชัย รุ่งเรืองอนันต์. การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ. พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ: หจก. ทีพีเอ็นเพรส, 2552.
Baciarello, L., Avino, M. D., Onori, R and Schiraldi M. M. Lot Sizing Heuristics Performance. International Journal of Engineering Business Management, 2013. 5, 1-10.
Basnet, C. and Leung, J. M. Y. Inventory lot-sizing with supplier selection. Computers and Operations Research, 2005. 32, 1-14.
Chase, R. B. and Aquilano N. J. Production and Operations Management: Manufacturing and Service. 7th edition, Irwin, Chicago, 1995.
Donald, W. Inventory Control and Management. John Wiley & Sons, New York, 2nd ed. 2003.
Groff, G. K. A Lot-Sizing Rule for Time Phased Component Demand. Production and Inventory Management, 1979. 20, 47-53.
Jacobs, F. R. and Chase, R. B. Operations and Supply Chain Management: The Core. McGraw-Hill, 3rd ed, 2012.
Joel, D. W., Keah, C. T. and G. Keong Leong. Principles of Supply Chain Management. South-Western, 2nd ed. 2008.
Narasimhan, S. L., McLeavey D. W. and Billington P. J. Production Planning and Inventory Control Operations Management. Pentice-Hill. International Inc., America, 2nd ed. 1995.
Nigel, S., Stuart, C., and Robert, J. Operations Management. Prentice Hall, 3rd ed, 2001.
Rezaei, J. and Davoodi, M. A. Deterministic multi-item inventory model with supplier selection and imperfect quality. Applied Mathematical Modelling, 2008. 32, 2106-2116.
Russell, R. S. and Taylor, B. W. Operations Management: Creating value along the supply chain. John Wiley & Sons, New York, 7th ed, 2011.
Silver, E. A. and Meal, H. C. A heuristic selecting lot size requirements for the case of a deterministic time varying demand rate and discrete opportunities for replenishment. Production and Inventory Management, 1973. 14, 64-74.
Silver, E. A., Pyke, D. F. and Peterson, R. Inventory Management and Production Planning and Scheduling. John Wiley & Sons, New York, 3rd ed. 1998.
Sim, N., Dennis W. M. and Peter J. B. Production Planning and Inventory Control. Prentice Hall New Jersey, 1995.
Stevenson, W. Operations Management. McGraw-Hill, 10th ed. 2007.
Wang, T. Y. and Yang Y. W. A fuzzy model for supplier selection in quantity discount environments. Expert Systems with Applications, 2009. 36, 12179–12187.
Wagner, H. M. and Whitin, T. M. Dynamic version of the economic lot size model. Management science, 1958. 6, 89 – 96.
Winters, P. R. Forecasting sales by exponentially weighted moving average. Management Science, 1960. 6, 324-342.
สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์. 2557. เอกสารออนไลน์จาก: http://www.km.moc.go.th/ main.php?filename=index_design8
Wikipedia. 2014. Online: https://en.wikipedia.org/wiki/Microsoft_Project
ACC Practice Center, 2012. Online: https://acc.dau.mil/communitybrowser.aspx?id=520905
ACC Practice Center, 2012. Online: https://acc.dau.mil/communitybrowser.aspx?id=520905
นักศึกษาประเมินผู้สอนผ่านระบบออนไลน์ของมหาวิทยาลัย
อาจารย์ผู้สอน พิจารณาทบทวน
นำผลการประเมินจากนักศึกษา ผลการเรียนรู้ของนักศึกษา กิจกรรมการเรียนการสอนมาปรับปรุงรายวิชา ใน มคอ. 3
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก พิจารณาจากพฤติกรรมการเข้าเรียน ผลการทำแบบฝึกหัด ทดสอบย่อย ผลการทำกิจกรรมและรายงาน
นำเสนอในการปรับปรุง มคอ.3 และ 5