ประติมากรรม 3
Sculpture 3
1. รู้ประวัติความเป็นมาในงานประติมากรรมลอยตัว และการจัดองค์ประกอบทางรูปทรงจากรูปทรงอินทรีย์รูป รูปทรงเรขาคณิต รูปทรงอิสระ
2. เข้าใจกระบวนการการสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมลอยตัวปั้น รูปทรงเรขาคณิตและรูปทรงอิสระ
3. มีทักษะในการปฏิบัติงานในรูปแบบประติมากรรมลอยตัวปั้น รูปทรงเรขาคณิตและรูปทรงอิสระ
4. มีความเข้าใจและมีทักษะในด้านเทคนิควิธีการการสร้างสรรค์ประติมากรรมลอยตัว โดยมีเนื้อหาเรื่องราวมาเป็นแรงบันดาลใจ
2. เข้าใจกระบวนการการสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมลอยตัวปั้น รูปทรงเรขาคณิตและรูปทรงอิสระ
3. มีทักษะในการปฏิบัติงานในรูปแบบประติมากรรมลอยตัวปั้น รูปทรงเรขาคณิตและรูปทรงอิสระ
4. มีความเข้าใจและมีทักษะในด้านเทคนิควิธีการการสร้างสรรค์ประติมากรรมลอยตัว โดยมีเนื้อหาเรื่องราวมาเป็นแรงบันดาลใจ
เรียนรู้และเข้าใจกระบวนการปฏิบัติงาน และสามารถนำไปพัฒนาในการสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรม
ศึกษาและฝึกปฏิบัติสร้างสรรค์ผลงานประติมากรรม ในลักษณะลอยตัวเน้นการ แสดงออกทางประติมากรรมในการจัดองค์ประกอบทางรูปทรง โดยศึกษาจาก รูปทรงอินทรีย์รูป รูปทรงเรขาคณิต รูปทรงอิสระและเนื้อหาเรื่องราวมาเป็นแรง บันดาลใจโดยสอดคล้องถึงเทคนิควิธีการทางประติมากรรมที่เหมาะสม Study and practice creating full-round sculpture including composition in sculpture. Organic form, geometric forms, free forms, and story concepts are examined in order to be used as inspiration for appropriate sculpture techniques.
- อาจารย์ประจำรายวิชา ให้คำปรึกษาและแนะนำการปฏิบัติงานทุกครั้งที่ลงมือปฏิบัติงาน
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
ข้อ 1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
ข้อ 2 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
ข้อ 3 มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของผู้อื่นและเพื่อนในชั้นเรียน มีความซื่อสัตย์ในการเรียนและการสร้างสรรค์ผลงาน โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
1.2.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริตเคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.2.2 มีความเป็นนักสร้างสรรค์ที่ดีมีคุณธรรมไม่ลอกเรียนหรือแอบอ้างผลงานของผู้อื่นว่าเป็นของตนเอง
1.2.3 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมเห็นคุณค่างานประติมากรรม รับผิดชอบและปฏิบัติงานตรงเวลาสามารถวิเคราะห์ผลหาข้อสรุปเพื่อการสร้างสรรค์ผลงาน
1.2.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริตเคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.2.2 มีความเป็นนักสร้างสรรค์ที่ดีมีคุณธรรมไม่ลอกเรียนหรือแอบอ้างผลงานของผู้อื่นว่าเป็นของตนเอง
1.2.3 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมเห็นคุณค่างานประติมากรรม รับผิดชอบและปฏิบัติงานตรงเวลาสามารถวิเคราะห์ผลหาข้อสรุปเพื่อการสร้างสรรค์ผลงาน
1.2.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และลงมือปฏิบัติงานตามที่กำหนดตรงเวลา
1.3.2 ศึกษาและฝึกปฏิบัติงานด้วยความสนใจเข้าใจในการวิเคราะห์ข้อดีและข้อเสียของผลงานทั้งของตนเองและเพื่อนในชั้นเรียน
1.3.3 ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
1.3.2 ศึกษาและฝึกปฏิบัติงานด้วยความสนใจเข้าใจในการวิเคราะห์ข้อดีและข้อเสียของผลงานทั้งของตนเองและเพื่อนในชั้นเรียน
1.3.3 ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
ข้อ 1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรมและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
ข้อ 2 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ
ข้อ 3 มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
ข้อ 4 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
รู้ลำดับขั้นตอนการปั้นประติมากรรมลอยตัวในรูปแบบเรขาคณิต รูปทรงอิสระ และรูปทรงอินทรีย์รูป ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานปั้นลอยตัว การจัดองค์ประกอบ ปฏิบัติการสร้างสรรค์ผลงานด้วยการนำเนื้อหาเรื่องราวมาเป็นแรงบันดาลใจ โดยสอดคล้องถึงเทคนิควิธีการทางประติมากรรมที่เหมาะสมตรวจและแก้ไขด้วยตนเอง เห็นคุณค่างานประติมากรรม และพัฒนาให้ทันยุคสมัย
ประเมินจากผลงานที่ฝึกปฏิบัติทุกครั้งว่ามีความรู้และความเข้าใจในการถ่ายทอดให้ได้ตามที่ต้องการแสดงออกจากแบบที่กำหนดให้หรือการสร้างสรรค์ด้วยตนเองด้วยวิธีการทางประติมากรรมอย่างถูกต้อง
ข้อ 1 สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมนข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน
ข้อ 2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
ข้อ 3 สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้
ข้อ 4 มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
รู้ทฤษฎีลำดับขั้นตอนการแสดงออกทางประติมากรรมทั้งแบบเหมือนจริงและการจัดองค์ประกอบด้วยการนำเอารูปทรงอินทรีย์รูป รูปทรงเรขาคณิต รูปทรงอิสระปฏิบัติการสร้างสรรค์ผลงานด้วยการนำเนื้อหาเรื่องราวมาเป็นแรงบันดาลใจ โดยสอดคล้องถึงเทคนิควิธีการทางประติมากรรมที่เหมาะสม พัฒนาความสามารถในการมองโดยการถ่ายทอดและสร้างสรรค์ผลงานอย่างเป็นระบบ มีการวางแผน วิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
ประเมินจากผลงานที่ฝึกปฏิบัติทุกครั้งว่ามีความรู้และความเข้าใจในงานปั้นลอยตัวรูปทรงต่างๆ จากแบบที่กำหนดให้ด้วยวิธีการทางประติมากรรมอย่างถูกต้อง มีการวิเคราะห์และมีความคิดสร้างสรรค์และแก้ไขปัญหาข้อบกพร่องในงานได้
ข้อ 1 มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
ข้อ 2 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเองและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อ3 สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมาและเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
4.2.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.2.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.2.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่ตนเองสร้างสรรค์ให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.2.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่ตนเองสร้างสรรค์ให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยการวิจารณ์ผลงานที่ได้ฝึกปฏิบัติ
4.3.2 ประเมินจากความร่วมมือในการช่วยเหลือกันทำงานอย่างมีระบบ
4.3.3 ประเมินจากการจัดหาหุ่นได้ตามกำหนด
4.3.2 ประเมินจากความร่วมมือในการช่วยเหลือกันทำงานอย่างมีระบบ
4.3.3 ประเมินจากการจัดหาหุ่นได้ตามกำหนด
ข้อ 1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไปตลอดจนใช้การสื่อสารทางศิลปกรรมและนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อ 2 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสาระสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อ 3 มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลขหรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม
5.2.1 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์และสร้างสรรค์ผลงานจากข้อมูลที่ได้ศึกษามาโดยใช้ รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสมพัฒนาทักษะในการสืบค้น จากตำราและข้อมูลทางอินเตอร์เน็ด
5.2.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียนรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.2.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียนรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และผลงานที่เสร็จสมบูรณ์
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงานและวิธีการนำเสนอ
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงานและวิธีการนำเสนอ
ข้อ 1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
ข้อ 2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
ข้อ 3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
6.2.1 มีทักษะในการใช้วัสดุอุปกรณ์ ในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยทั้งตนเองและเพื่อนร่วมปฏิบัติงาน
6.2.2 มีทักษะในการร่างและทำต้นแบบผลงานตามที่แต่ละคนถนัดเพื่อเป็นต้นแบบในการขยายเป็นผลงานตามที่ตนกำหนด
6.2.3 สามารถสร้างสรรค์ผลงาน โดยใช้เทคนิคต่างๆได้อย่างเหมาะสมและทันสมัย
6.2.4 สามารถวิเคราะห์ปัญหาในการสร้างสรรค์ผลงาน วิพากษ์และวิจารณ์ผลงานของตนเองและเพื่อนร่วมปฏิบัติงานได้
6.2.5 มีทักษะในการสร้างสรรค์ที่แสดงเอกลักษณ์เฉพาะตนได้อย่างชัดเจน
6.2.2 มีทักษะในการร่างและทำต้นแบบผลงานตามที่แต่ละคนถนัดเพื่อเป็นต้นแบบในการขยายเป็นผลงานตามที่ตนกำหนด
6.2.3 สามารถสร้างสรรค์ผลงาน โดยใช้เทคนิคต่างๆได้อย่างเหมาะสมและทันสมัย
6.2.4 สามารถวิเคราะห์ปัญหาในการสร้างสรรค์ผลงาน วิพากษ์และวิจารณ์ผลงานของตนเองและเพื่อนร่วมปฏิบัติงานได้
6.2.5 มีทักษะในการสร้างสรรค์ที่แสดงเอกลักษณ์เฉพาะตนได้อย่างชัดเจน
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา ประเมินจากการนำเสนอรายงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1.คุณธรรมจริยธรรม | 2.ความรู้ | 3.ทักษะทางปัญญา | 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6.ทักษะพิสัย | ||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 3 | 1 | 2 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 |
1 | BFAVA129 | ประติมากรรม 3 |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.คุณธรรม จริยธรรม | การเข้าชั้นเรียน | 1,3,4,5,6,7,8,11,13,16 | 10 % |
2 | 2.ด้านความรู้ | การทำใบงาน | ตลอดภาคการศึกษา | 25% |
3 | 3.ทักษะทางปัญญา | การนำเสนองาน | ตลอดภาคการศึกษา | 15% |
4 | 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ | การนำเสนองานและการมีส่วนร่วม | 15 | 5 % |
5 | 5.ด้านทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | การศึกษาค้นคว้าในอินเตอร์เน็ต | 15 | 5 % |
6 | 6.ด้านทักษะพิสัย | การส่งงาน ผลการปฏิบัติงาน | ตลอดภาคการศึกษา | 40% |
มัย ตะติยา(2549). ประติมากรรมพื้นฐาน, พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สิปประภา,
กำจร สุนพงษ์ศรี(2559). พจนานุกรมศัพท์ทัศนศิลป์, พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
ประเสริฐ วรรณรัตน์(2552). ประวัติศาสตร์ประติมากรรม, พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: บริษัทวาดศิลป์จำกัด,
ชัยชาญ จันทศรี(2557). ประติมากรรมลักษณะเฉพาะตัว, พิมพ์ครั้งที่ 1. สำนักพิมพ์ : เจ ปริ้น,
ชัยชาญ จันทศรี(2557). องค์ประกอบศิลป์ในงานประติมากรรม, พิมพ์ครั้งที่ 1. สำนักพิมพ์ : เจ ปริ้น,
พูลสวัสดิ์ มุมบ้านเซ่า(2553). ประติมากรรม, พิมพ์ครั้งที่ 1. สำนักพิมพ์ : สุวีริยาสาส์น,
ศุภพงศ์ ยืนยง(2547). หลักการเขียนภาพ, พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์,
Liu Gang(2561). คู่มือวาดเส้น หุ่นนิ่งเรขาคณิตพื้นฐาน, พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น,
สมชาย พรหมสุวรรณ(2548). หลักการทัศนศิลป์, พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
กนกธร ปิยธำรงรัตน์(2003) กายวิภาคศาสตร์เปรียบเทียบของสัตว์มีกระดูกสันหลัง, พิมพ์ครั้งที่ 1 . กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
กำจร สุนพงษ์ศรี(2559). พจนานุกรมศัพท์ทัศนศิลป์, พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
ประเสริฐ วรรณรัตน์(2552). ประวัติศาสตร์ประติมากรรม, พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: บริษัทวาดศิลป์จำกัด,
ชัยชาญ จันทศรี(2557). ประติมากรรมลักษณะเฉพาะตัว, พิมพ์ครั้งที่ 1. สำนักพิมพ์ : เจ ปริ้น,
ชัยชาญ จันทศรี(2557). องค์ประกอบศิลป์ในงานประติมากรรม, พิมพ์ครั้งที่ 1. สำนักพิมพ์ : เจ ปริ้น,
พูลสวัสดิ์ มุมบ้านเซ่า(2553). ประติมากรรม, พิมพ์ครั้งที่ 1. สำนักพิมพ์ : สุวีริยาสาส์น,
ศุภพงศ์ ยืนยง(2547). หลักการเขียนภาพ, พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์,
Liu Gang(2561). คู่มือวาดเส้น หุ่นนิ่งเรขาคณิตพื้นฐาน, พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น,
สมชาย พรหมสุวรรณ(2548). หลักการทัศนศิลป์, พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
กนกธร ปิยธำรงรัตน์(2003) กายวิภาคศาสตร์เปรียบเทียบของสัตว์มีกระดูกสันหลัง, พิมพ์ครั้งที่ 1 . กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อผลงานประติมากรรมของประติมากรที่สำคัญทั้งในประเทศและต่างประเทศ
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานตามหัวข้อที่กำหนดทุกครั้ง
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานตามหัวข้อที่กำหนดทุกครั้ง
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.1 การทวนสอบความก้าวหน้าและความเข้าใจในการปฏิบัติงาน
2.1 การทวนสอบความก้าวหน้าและความเข้าใจในการปฏิบัติงาน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน คือ สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาได้จาก การสอบถามนักศึกษา และสังเกตความก้าวหน้า ความเข้าใจ และพัฒนาของผลการปฏิบัติงาน
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4