ศิลปะร่วมสมัย
Contemporary Art
1.1 รู้ความหมายและแนวความคิดของงานศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art)
1.2 เข้าใจกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะทางด้าน รูปแบบ และเทคนิควิธีการของงาน ศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art)
1.3 สามารถบรรยายเชิงวิชาการ วิเคราะห์ วิจารณ์ ผลงานสร้างสรรค์ในงานศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art) ทั้งในโลกตะวันตก และเอเชียได้
1.4 สามารถเข้าใจแนวความคิดและรูปแบบของงานศิลปะร่วมสมัย(Contemporary Art)ในแต่ละลัทธิต่างๆ และในแต่ละประเภทได้
1.5 เห็นคุณค่าของผลงานศิลปะทุกแขนงทางด้านทัศนศิลป์ในงานศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art)
1.2 เข้าใจกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะทางด้าน รูปแบบ และเทคนิควิธีการของงาน ศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art)
1.3 สามารถบรรยายเชิงวิชาการ วิเคราะห์ วิจารณ์ ผลงานสร้างสรรค์ในงานศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art) ทั้งในโลกตะวันตก และเอเชียได้
1.4 สามารถเข้าใจแนวความคิดและรูปแบบของงานศิลปะร่วมสมัย(Contemporary Art)ในแต่ละลัทธิต่างๆ และในแต่ละประเภทได้
1.5 เห็นคุณค่าของผลงานศิลปะทุกแขนงทางด้านทัศนศิลป์ในงานศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art)
2.1 นักศึกษามีความรู้เชิงวิชาการในด้านแนวความคิด เกี่ยวกับงานศิลปะร่วมสมัย
(Contemporary Art)
2.2 นักศึกษามีการบรรยาย วิเคราะห์ วิจารณ์ และเขียนรายงาน ในการสร้างสรรค์เกี่ยวกับงานศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art) ในแต่ละยุคสมัยได้
2.3 สามารถเข้าใจบริบททางสังคมที่ส่งผลต่อรูปแบบ และแนวความคิดของศิลปินในงานศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art)
2.4 นักศึกษาสามารถประยุกต์ความรู้ไปใช้ต่อการปฏิบัติในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะในสาขาวิชาเอกต่อไปได้
(Contemporary Art)
2.2 นักศึกษามีการบรรยาย วิเคราะห์ วิจารณ์ และเขียนรายงาน ในการสร้างสรรค์เกี่ยวกับงานศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art) ในแต่ละยุคสมัยได้
2.3 สามารถเข้าใจบริบททางสังคมที่ส่งผลต่อรูปแบบ และแนวความคิดของศิลปินในงานศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art)
2.4 นักศึกษาสามารถประยุกต์ความรู้ไปใช้ต่อการปฏิบัติในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะในสาขาวิชาเอกต่อไปได้
ศึกษาประวัติความเป็นมาของแนวคิด รูปแบบ เทคนิค และลักษณะเฉพาะของศิลปะ
ร่วมสมัยในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 รวมไปถึงอิทธิพลทางศิลปะยุคต่าง ๆ สู่การ
สร้างสรรค์ใหม่ในปัจจุบัน เพื่อมีความรู้ความเข้าใจและสามารถวิเคราะห์ผลงานทาง
ทัศนศิลป์ร่วมสมัยได้
Study background concepts, forms, techniques, and characteristics of
contemporary art from the 19th century until the present to gain
insight and analyze contemporary art.
อาจารย์ผู้สอนจะให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษานอกชั้นเรียน ตามความเหมาะสม และสื่อสารให้นักศึกษาได้ทราบกำหนดเวลาล่วงหน้า
พัฒนานักศึกษาให้มีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา มีความรักในวิชาเรียน รักที่จะฝึกฝนค้นคว้าตามกระบวนการของวิชาทางด้านทัศนศิลป์ มีการศึกษาค้นคว้าให้ประสบผลสำเร็จโดยความเพียร มีความซื่อสัตย์ สามารถศึกษาในรายวิชาร่วมกันด้วยความรักความสามัคคี
- ให้นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบรายบุคคล ได้ทดลองบรรยายเชิงวิชาการได้มีการกำหนดเพื่อให้นักศึกษาเข้าใจในการสร้างสรรค์เกี่ยวกับงานศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art)ในแต่ละยุคสมัยได้
- ต้องเข้าชั้นเรียนเพื่อวิพากษ์วิจารณ์ร่วมกันในชั้นเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนทัศนะ นำไปสู่การพัฒนาและเรียนรู้ร่วมกัน
- นักศึกษาต้องมีความตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน
- ต้องเข้าชั้นเรียนเพื่อวิพากษ์วิจารณ์ร่วมกันในชั้นเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนทัศนะ นำไปสู่การพัฒนาและเรียนรู้ร่วมกัน
- นักศึกษาต้องมีความตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน
ความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา มีความรักในวิชาเรียน รักที่จะฝึกฝนค้นคว้าตามกระบวนการของวิชาทางด้านทัศนศิลป์ มีความซื่อสัตย์
1 นักศึกษามีความรู้เชิงวิชาการในด้านความหมายเกี่ยวกับทัศนศิลป์ในงานศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art)
2 นักศึกษามีความรู้จากการค้นคว้าและบรรยาย วิเคราะห์ วิจารณ์ศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art)
3 มีความรู้ทางด้านทัศนธาตุต่างๆ ในศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art) ผ่านเทคนิควิธีการของงานศิลปินในลัทธิต่างๆ
4 มีความรู้ในเรื่องของ แนวความคิด รูปแบบ และเทคนิควิธีการในการสร้างสรรค์ ของศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art) ทั้งในโลกตะวันตกและในเอเชีย
5 นักศึกษาสามารถประยุกต์ไปใช้ต่อในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะในสาขาทัศนศิลป์ต่อไปได้
2 นักศึกษามีความรู้จากการค้นคว้าและบรรยาย วิเคราะห์ วิจารณ์ศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art)
3 มีความรู้ทางด้านทัศนธาตุต่างๆ ในศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art) ผ่านเทคนิควิธีการของงานศิลปินในลัทธิต่างๆ
4 มีความรู้ในเรื่องของ แนวความคิด รูปแบบ และเทคนิควิธีการในการสร้างสรรค์ ของศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art) ทั้งในโลกตะวันตกและในเอเชีย
5 นักศึกษาสามารถประยุกต์ไปใช้ต่อในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะในสาขาทัศนศิลป์ต่อไปได้
- ให้ความรู้กับนักศึกในเชิงทฤษฏี เป็นการเกริ่นนำในเรื่องความสำคัญ และความหมายของทัศนศิลป์ในงานศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art)
- บรรยายผ่านสื่อสาระสนเทศ โดยมีเนื้อหาแนวคิด พร้อมภาพประกอบ เกี่ยวกับงานศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art) โดยเริ่มต้นจากยุคโมเดิร์นอาร์ต Modern Art มาจนถึงยุคปัจจุบัน
- ให้นักศึกษาได้แบ่งกลุ่มทำรายงานและบรรยายจากการค้นคว้าแต่ศิลปะยุคสมัยใหม่มาจนถึงยุคปัจจุบันวิเคราะห์ วิจารณ์ ในเรื่อง ศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art) ร่วมกัน
- วิพากษ์วิจารณ์ร่วมกันในชั้นเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนทัศนะ นำไปสู่การเข้าบริบททางสังคมที่ส่งผลต่อแนวความคิดและรูปแบบ ในงานศิลปะร่วมสมัย
- บรรยายผ่านสื่อสาระสนเทศ โดยมีเนื้อหาแนวคิด พร้อมภาพประกอบ เกี่ยวกับงานศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art) โดยเริ่มต้นจากยุคโมเดิร์นอาร์ต Modern Art มาจนถึงยุคปัจจุบัน
- ให้นักศึกษาได้แบ่งกลุ่มทำรายงานและบรรยายจากการค้นคว้าแต่ศิลปะยุคสมัยใหม่มาจนถึงยุคปัจจุบันวิเคราะห์ วิจารณ์ ในเรื่อง ศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art) ร่วมกัน
- วิพากษ์วิจารณ์ร่วมกันในชั้นเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนทัศนะ นำไปสู่การเข้าบริบททางสังคมที่ส่งผลต่อแนวความคิดและรูปแบบ ในงานศิลปะร่วมสมัย
- ประเมินจากการพูดบรรยายหน้าห้องเรียนและการเขียนรายงาน ในเชิงวิชาการของนักศึกษา ทั้งงานกลุ่ม และส่วนบุคคล โดยกำหนดหัวข้อต่างๆที่เกี่ยวกับศิลปะร่วมสมัย
- ประเมินจากการสามารถวิเคราะห์ผลงานศิลปะของศิลปินในยุคสมัยใหม่ มีความรู้เกี่ยวกับแนวความคิด รูปแบบและเทคนิค วิธีการที่นำเสนอของานศิลปะในยุคสมัยใหม่ได้
- ประเมินทางด้านความขยันและรับผิดชอบ ส่งงานตามกำหนดเวลา
- ประเมินจากผลคะแนน สอบกลางภาค และปลายภาค
- ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการเรียน วิพากษ์ วิจารณ์ และการเข้าชั้นเรียน
- ประเมินจากผลคะแนน สอบกลางภาค และปลายภาค
- ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการเรียน วิพากษ์ วิจารณ์ และการเข้าชั้นเรียน
- นักศึกษาต้องมีความรู้เชิงวิชาการในด้านความหมายและความสำคัญเกี่ยวกับงานศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art)
- นักศึกษาต้องมีความสามารถวิเคราะห์ ในการแสดงออกทางศิลปะของศิลปินใน
ยุคสมัยใหม่ มีความเข้าใจในทัศนธาตุต่างๆรวมไปถึงการแทนค่าในเชิงสัญลักษณ์ซึ่งศิลปินในแต่ลัทธิทางศิลปะนำเสนอผ่านผลงานอันหลากหลาย
- นักศึกษาสามารถนำความรู้ในเชิงทฤษฎี เพื่อพัฒนาไปใช้ประโยชน์ในการลงมือปฏิบัติสร้างสรรค์ผลงานศิลปะของตนอย่างเป็นเฉพาะตัว
- นักศึกษาต้องมีความสามารถวิเคราะห์ ในการแสดงออกทางศิลปะของศิลปินใน
ยุคสมัยใหม่ มีความเข้าใจในทัศนธาตุต่างๆรวมไปถึงการแทนค่าในเชิงสัญลักษณ์ซึ่งศิลปินในแต่ลัทธิทางศิลปะนำเสนอผ่านผลงานอันหลากหลาย
- นักศึกษาสามารถนำความรู้ในเชิงทฤษฎี เพื่อพัฒนาไปใช้ประโยชน์ในการลงมือปฏิบัติสร้างสรรค์ผลงานศิลปะของตนอย่างเป็นเฉพาะตัว
- กำหนดให้นักศึกษาได้มีทักษะในการพูด บรรยาย เพื่อวิเคราะห์ผลงาน เกี่ยวกับงานศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art)
- กำหนดให้มีการวิจารณ์ผลงานศิลปะของศิลปินในยุคสมัยใหม่ เพื่อแลกเปลี่ยนทัศนะระหว่างเพื่อนในชั้นเรียน
- แนะนำให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเอง โดยศึกษาจากศิลปินสำคัญในยุคสมัยใหม่มาจนถึงยุคปัจจุบัน
- กำหนดให้มีการวิจารณ์ผลงานศิลปะของศิลปินในยุคสมัยใหม่ เพื่อแลกเปลี่ยนทัศนะระหว่างเพื่อนในชั้นเรียน
- แนะนำให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเอง โดยศึกษาจากศิลปินสำคัญในยุคสมัยใหม่มาจนถึงยุคปัจจุบัน
- ประเมินจากทักษะในการพูด บรรยาย เพื่อวิเคราะห์ผลงาน เกี่ยวกับงานศิลปะร่วมสมัย (Contemporary Art)ได้
- ประเมินจากการเขียนบทความ รายงาน ผลงาน เกี่ยวกับงานศิลปะร่วมสมัย
(Contemporary Art)ได้ - ประเมินจากทัศนะส่วนบุคคลที่มีคิดเห็นในเชิงสร้างสรรค์
- ประเมินจากการเขียนบทความ รายงาน ผลงาน เกี่ยวกับงานศิลปะร่วมสมัย
(Contemporary Art)ได้ - ประเมินจากทัศนะส่วนบุคคลที่มีคิดเห็นในเชิงสร้างสรรค์
- สามารถวิพากษ์วิจารณ์ร่วมกันในชั้นเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนทัศนะ นำไปสู่การพัฒนาและเรียนรู้ร่วมกัน
- มีความเคารพตนเองและผู้อื่น โดยสามารถศึกษาค้นคว้า บรรยาย และเขียนรายงานเป็นกลุ่มได้
- มีความรัก ความสามัคคีกันในชั้นเรียน
- มีความเคารพตนเองและผู้อื่น โดยสามารถศึกษาค้นคว้า บรรยาย และเขียนรายงานเป็นกลุ่มได้
- มีความรัก ความสามัคคีกันในชั้นเรียน
- ให้นักศึกษาสามารถ รับฟังคำวิจารณ์จากผู้อื่นได้
- สอนให้เห็นความสำคัญของความแตกต่างกันไปแต่ละบุคล
- กำหนดการบรรยาย การเขียนรายงานเชิงวิชาการเป็นกลุ่ม เพื่อสร้างความสามัคคี
- สอนให้เห็นความสำคัญของความแตกต่างกันไปแต่ละบุคล
- กำหนดการบรรยาย การเขียนรายงานเชิงวิชาการเป็นกลุ่ม เพื่อสร้างความสามัคคี
- ประเมินผลจากพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
- ประเมินผลจากความรู้ ความเข้าใจที่ได้จากการแลกเปลี่ยนระหว่างผู้เรียน
- ประเมินผลจากการกำหนดให้ปฏิบัติงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
- ประเมินผลจากความรู้ ความเข้าใจที่ได้จากการแลกเปลี่ยนระหว่างผู้เรียน
- ประเมินผลจากการกำหนดให้ปฏิบัติงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
- เพิ่มทักษะความรู้ ความเข้าใจที่เกิดจากการศึกษาค้นคว้าจากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
- ให้ความรู้ความเข้าใจในเทคนิควิธีการที่ได้จากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
- ให้ความรู้ความเข้าใจในเทคนิควิธีการที่ได้จากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
- นำเสนอตัวอย่างความรู้ ความชำนาญเกี่ยวกับงานศิลปะร่วมสมัย(Contemporary Art)รวมทั้งตัวอย่างผลงานของศิลปินที่มีชื่อเสียงจากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
- นำเสนอภาพผลงานศิลปะ เทคนิควิธีการที่ได้จากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
- มอบหมายงานการศึกษาค้นคว้าจากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
- นำเสนอภาพผลงานศิลปะ เทคนิควิธีการที่ได้จากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
- มอบหมายงานการศึกษาค้นคว้าจากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
- ประเมินผลความรู้ความเข้าใจจากผลงานที่สร้างสรรค์ตามเทคนิควิธีการที่ได้จากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
- ประเมินผลจากการมอบหมายให้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
- ประเมินผลจากการมอบหมายให้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
(1) มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
(2) มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
(3) มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
(2) มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
(3) มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
แนะนำทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง รวมถึงการค้นคว้าศึกษาด้วยตนเอง
ประเมินจากกระบวนการทำงาน การนำเสนอ และแบบทดสอบ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | ๑. คุณธรรม จริยธรรม | ๒. ความรู้ | ๓. ทักษะทางปัญญา | ๔. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | ๕. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ๖. ด้านทักษะพิสัย | ||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | (1) ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม | (2) มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น | (3) มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ | (1) รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตรอื่นที่เกี่ยวข้อง | (2) มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ | (3) มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม | (4) มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรม ศาสตรในสาขาวิชาที่ศึกษา | (1) สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน | (2) สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ | (3) สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้ | (4) มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน | (1) มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและ มนุษยสัมพันธ์ที่ดี | (2) มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ | (3) สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง | (1) สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ | (2) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ | (3) มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงาน | (1) มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ | (2) มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง | (3) มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน |
1 | BFAVA101 | ศิลปะร่วมสมัย |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | รู้ความหมายและประเภทของงานศิลปะทางด้านศิลปะร่วมสมัย | ประเมินจากการวิเคราะห์และบรรยายผลงานทางด้านศิลปะร่วมสมัย | 1-8 | 30% |
2 | เข้าใจกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะร่วมสมัย สามารวิเคราะห์แนวความคิดและรูปแบบทางศิลปะได้ | ประเมินจากการเขียนรายงานเชิงวิชาการทางด้านศิลปะร่วมสมัย สอบกลางภาคและสอบปลายภาค | 1-16 | 60% |
3 | มีความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | การเข้าชั้นเรียน | 1-16 | 10% |
รศ.จิระพัฒน์ พิตรปรีชา. โลกศิลปะศตวรรษที่20. กรุงเทพ:สำนักพิมพ์เมืองโบราณ, 2552
รศ.อิทธิพล ตั้งโฉลก. แนวทางการสอนและสร้างสรรค์จิตรกรรมขั้นสูง. กรุงเทพ:สำนักพิมพ์อัมรินทร์ ปริ้นติ้ง, 2550
คอตติงตัน เดวิด. ศิลปะสมัยใหม่:ความรู้ฉบับพกพา. กรุงเทพ:โอเพ่นเวิลด์ส, 2554
สุธี คุณาวิชยานนท์. จากสยามเก่าสู่ไทยใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพ:บ้านหัวแหลม, 2546
รศ.อิทธิพล ตั้งโฉลก. แนวทางการสอนและสร้างสรรค์จิตรกรรมขั้นสูง. กรุงเทพ:สำนักพิมพ์อัมรินทร์ ปริ้นติ้ง, 2550
คอตติงตัน เดวิด. ศิลปะสมัยใหม่:ความรู้ฉบับพกพา. กรุงเทพ:โอเพ่นเวิลด์ส, 2554
สุธี คุณาวิชยานนท์. จากสยามเก่าสู่ไทยใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพ:บ้านหัวแหลม, 2546
หนังสือศิลปะรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 9, พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพ:อัมรินทร์ปริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, 2540
ศาสตราจารย์ กำจร สุนพงษ์ศรี. หนังสือศิลปะสมัยใหม่ .สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554
หนังสือศิลปะร่วมสมัยไทย, พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย, 2558
ศาสตราจารย์ กำจร สุนพงษ์ศรี. หนังสือศิลปะสมัยใหม่ .สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554
หนังสือศิลปะร่วมสมัยไทย, พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย, 2558
- สอบถามความคิดเห็นจากนักศึกษาเมื่อเสร็จสิ้นในเนื้อหานั้น
- นักศึกษาประเมินการสอนในคอมพิวเตอร์
- ประเมินการสอนโดยผู้บริหารของภาค หรือสาขาวิชา
- นักศึกษาประเมินการสอนในคอมพิวเตอร์
- ประเมินการสอนโดยผู้บริหารของภาค หรือสาขาวิชา
- จัดประชุมคณะอาจารย์ ระดมความคิดเห็นเมื่อสิ้นสุดภาคเรียน
- สรุปผลการประเมินการสอนจากนักศึกษา
- ประชุมคณะอาจารย์แจ้งผลการประเมิน แสดงความคิดเห็นเพื่อพัฒนาการสอน
- จัดประชุม สัมมนาคณะอาจารย์เพื่อพัฒนาเทคนิคใหม่เกี่ยวกับการสอน
- ประชุมคณะอาจารย์แจ้งผลการประเมิน แสดงความคิดเห็นเพื่อพัฒนาการสอน
- จัดประชุม สัมมนาคณะอาจารย์เพื่อพัฒนาเทคนิคใหม่เกี่ยวกับการสอน
- มีคณะกรรมการวิชาการประจำสาขาวิชา
- มีคณะกรรมการพิจารณาข้อสอบ และผลสอบ
- ให้นักศึกษาตรวจสอบคะแนน ผลคะแนนจากฝ่ายทะเบียนได้
- มีคณะกรรมการพิจารณาข้อสอบ และผลสอบ
- ให้นักศึกษาตรวจสอบคะแนน ผลคะแนนจากฝ่ายทะเบียนได้
- นำผลที่ได้จากการสอบถามความคิดเห็น คะแนนสอบของนักศึกษา การประชุมสัมมนานำมา สรุปผล และพัฒนารายวิชาก่อนการสอนในภาคเรียนต่อไป