ความมั่นคงปลอดภัยของคอมพิวเตอร์และข้อมูล
Computer and Data Security
ถึงจุดประสงค์ของระบบรักษาความปลอดภัย เข้าใจการวางแผนเพื่อรักษาความปลอดภัยของระบบ รู้และเข้าใจลักษณะการโจมตีที่มีต่อระบบคอมพิวเตอร์ เข้าใจหลักการควบคุมและรักษาความปลอดภัยให้แก่ระบบข้อมูล รู้และเข้าใจการเข้าและถอดรหัส เข้าใจหลักหลักรักษาความปลอดภัยของระบบเครือข่าย
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษา มีความรู้หลักการความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ วิทยาการเข้ารหัสลับ การเข้าและถอดรหัสลับแบบต่างๆ มีความรู้เท่าทันเทคโนโลยีความปลอดภัยในการสื่อสารข้อมูล และในระบบข้อมูลของคอมพิวเตอร์ รวมถึงความปลอดภัยของข้อมูลในอินเตอร์เน็ตในทุกสรรพสิ่ง
เพื่อให้นักศึกษา มีความรู้หลักการความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ วิทยาการเข้ารหัสลับ การเข้าและถอดรหัสลับแบบต่างๆ มีความรู้เท่าทันเทคโนโลยีความปลอดภัยในการสื่อสารข้อมูล และในระบบข้อมูลของคอมพิวเตอร์ รวมถึงความปลอดภัยของข้อมูลในอินเตอร์เน็ตในทุกสรรพสิ่ง
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ หลักการความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ วิทยาการเข้ารหัสลับ การเข้าและถอดรหัสลับแบบต่างๆ อัลกอริทึมในการเข้ารหัสลับ การระบุตัวตน การวิเคราะห์คุณลักษณะสมบัติของข้อมูลสำหรับลดความซับซ้อนขบวนการเข้ารหัสลับ การลดเวลาและภาระการประมวลผลเข้ารหัสลับ การฝังสัญญาณลายน้ำ และความปลอดภัยในการสื่อสารข้อมูล รวมถึงความปลอดภัยของข้อมูลในอินเตอร์เน็ตในทุกสรรพสิ่ง
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม
เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.4 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม
มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.1.4 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม
มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารเชิงดิจิทัล เช่น การสื่อสารข้อมูลด้วยความเร็วสูงแบบไร้สาย การรักษาความปลอดภัยของข้อมูล
1.2.2 อภิปรายกลุ่ม
กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง
1.2.2 อภิปรายกลุ่ม
กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
มีความรู้ในหลักการ ความสำคัญ หลักการความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ วิทยาการเข้ารหัสลับ การเข้าและถอดรหัสลับแบบต่างๆ อัลกอริทึมในการเข้ารหัสลับ การระบุตัวตน การวิเคราะห์คุณลักษณะสมบัติของข้อมูลสำหรับลดความซับซ้อนขบวนการเข้ารหัสลับ การลดเวลาและภาระการประมวลผลเข้ารหัสลับ การฝังสัญญาณลายน้ำ และความปลอดภัยในการสื่อสารข้อมูล รวมถึงความปลอดภัยของข้อมูลในอินเตอร์เน็ตในทุกสรรพสิ่ง
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
1 ทำรายงาน สอบทฤษฎี สอบปฏิบัติ และทำโครงงานพิเศษ
2.3.2 นำเสนอสรุปผลจากการศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
2.3.3 วิเคราะห์กรณีศึกษา
2.3.2 นำเสนอสรุปผลจากการศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
2.3.3 วิเคราะห์กรณีศึกษา
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลเชิงดิจิทัล
1 การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษ และนำเสนอผลการศึกษา
3.2.2 อภิปรายกลุ่ม
3.2.3 วิเคราะห์กรณีศึกษา ในการนำเทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลมาใช้ให้เหมาะสม
3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.2.2 อภิปรายกลุ่ม
3.2.3 วิเคราะห์กรณีศึกษา ในการนำเทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลมาใช้ให้เหมาะสม
3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
ทำรายงาน สอบทฤษฎี สอบปฏิบัติ และทำโครงงานพิเศษ โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์และการประยุกต์ความรู้ที่ศึกษา
3.3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
3.3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล การนำตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลมาใช้ในการเรียนการสอน หรือองค์กร ธุรกิจ
4.2.3 การนำเสนอรายงาน
4.2.4 แทรกประสบการณ์ของอาจารย์ในระหว่างสอนโดยผ่านการเล่าเรื่องต่าง ๆ
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล การนำตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลมาใช้ในการเรียนการสอน หรือองค์กร ธุรกิจ
4.2.3 การนำเสนอรายงาน
4.2.4 แทรกประสบการณ์ของอาจารย์ในระหว่างสอนโดยผ่านการเล่าเรื่องต่าง ๆ
1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4 พัฒนาทักษะในการหาความรู้เพิ่มเติมด้วยตนเองโดยการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร
5.1.6 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4 พัฒนาทักษะในการหาความรู้เพิ่มเติมด้วยตนเองโดยการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร
5.1.6 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจาก Website และสื่อการเรียน E-learning ที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารข้อมูล และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.3 ท้าทายเชิงวิชาการต่อนักศึกษาในระหว่างการสอนโดยการตั้งคำถามที่มาจากปัญหาจริงในอุตสาหกรรม หรือบทความวิชาการ เพื่อให้นักศึกษาฝึกคิดหาวิธีแก้ปัญหา
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.3 ท้าทายเชิงวิชาการต่อนักศึกษาในระหว่างการสอนโดยการตั้งคำถามที่มาจากปัญหาจริงในอุตสาหกรรม หรือบทความวิชาการ เพื่อให้นักศึกษาฝึกคิดหาวิธีแก้ปัญหา
ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล | ไม่มีข้อมูล |
---|
1] Amornraksa, T., 2001, Data Security for Multimedia Communication, King Mongkut’s Institute of Technology Thonburi.
[2] Servetti, A., Testa, C. and De Martin, J. C., 2003, “Frequency-selective Partial Encryption of Compressed Audio”, IEEE Transactions on ICASSP, pp. 668–671.
[3] Thorwirth, N.J., Horvatic, P., Weis, R., and Jian Z., 2000, “Security Method for MP3 Music Delivery”, Proceedings of the 34th Asilomar Conference on Signals, Systems and Computers 2000, Vol. 2, Oct. 29 - Nov. 1, pp. 1831–1835.
[4] Torrubia, A. and Mora, F., 2002, “Perceptual Cryptography on MPEG 1 Layer III Bit-Streams”, Proceedings of International Conference on Consumer Electronics (ICCE 2002), June 18-20, pp. 324 – 325.
[5] Tananchai, P., 2007, "Selective Encryption for Compressed Audio", King Mongkut’s Institute of Technology Thonburi Journal, January - March, 2007, pp 21 - 34.
[2] Servetti, A., Testa, C. and De Martin, J. C., 2003, “Frequency-selective Partial Encryption of Compressed Audio”, IEEE Transactions on ICASSP, pp. 668–671.
[3] Thorwirth, N.J., Horvatic, P., Weis, R., and Jian Z., 2000, “Security Method for MP3 Music Delivery”, Proceedings of the 34th Asilomar Conference on Signals, Systems and Computers 2000, Vol. 2, Oct. 29 - Nov. 1, pp. 1831–1835.
[4] Torrubia, A. and Mora, F., 2002, “Perceptual Cryptography on MPEG 1 Layer III Bit-Streams”, Proceedings of International Conference on Consumer Electronics (ICCE 2002), June 18-20, pp. 324 – 325.
[5] Tananchai, P., 2007, "Selective Encryption for Compressed Audio", King Mongkut’s Institute of Technology Thonburi Journal, January - March, 2007, pp 21 - 34.
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการปฏิบัติใบงาน
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.2 ผลการปฏิบัติใบงาน
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบปฏิบัติใบงาน วิธีการให้คะแนน และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบปฏิบัติใบงาน วิธีการให้คะแนน และการให้คะแนนพฤติกรรม
1 ปรับปรุงรายวิชาทุกปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ