นวัตกรรมการจัดการฟาร์มอัจฉริยะ

Innovation for Smart Farming Management

1. เข้าใจเกี่ยวกับไฟฟ้าเบื้องต้น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และดิจิตอล
2. เข้าใจการใช้เทคโนโลยีระบบฝังตัว อุปกรณ์รับรู้สภาพแวดล้อมทางการเกษตร และเทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง
3. สามารถนำองค์ความรู้ด้านไฟฟ้าและเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนานวัตกรรมฟาร์มอัจฉริยะทางการผลิตพืช ผลิตสัตว์ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ อุตสาหกรรมการเกษตร
4. สามารถบริหารจัดการเทคโนโลยีฟาร์มที่เหมาะสม ยั่งยืนและเป็นมิตรต่อสภาพแวดล้อม
 
 เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นทางไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์และดิจิตอล เทคโนโลยีระบบฝังตัว อุปกรณ์รับรู้สภาพแวดล้อมทางการเกษตร เทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง การพัฒนาและ การประยุกต์ใช้นวัตกรรมฟาร์มอัจฉริยะทางการผลิตพืช ผลิตสัตว์ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ อุตสาหกรรมการเกษตร และการบริหารจัดการเทคโนโลยีฟาร์มที่เหมาะสม ยั่งยืน และเป็นมิตรต่อสภาพแวดล้อม
นักศึกษาสามารถนัดหมายอาจารย์เป็นรายบุคคล หรือเข้าพบอาจารย์ได้ ณ ห้องพักอาจารย์ที่อาจารย์ผู้สอนบทเรียนนั้นๆประจำอยู่ 
- มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 
- มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 
- มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 
- เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 
- สอดแทรกและส่งเสริมด้าน คุณธรรม จริยธรรมระหว่างการเรียนการสอน 
- ปลูกฝังให้มีระเบียบวินัยโดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา 
- ใช้กิจกรรมในการปลูกฝังความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
- การแสดงออกและการมีส่วนร่วม 
- การส่งรายงานตรงเวลา 
- ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
- มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 
- สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 
- มีสามารถประยุกต์ความรู้มาใช้ในสถานการณ์จริงได้
- กรณีศึกษา 
- การนำเสนอผลงาน 
- การปฏิบัติงานในสถานที่จริง
- การสร้างสรรค์ผลงาน 
- การนำเสนอผลงาน 
- ผลการปฏิบัติงานจริง
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ  ˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. กรณีศึกษา  2. การนำเสนอผลงาน  3. ผลงานนิทรรศการ
1. การออกแบบชิ้นงานใหม่  2. การนำเสนอผลงาน  3. รายงาน  4. ผลงานนิทรรศการ
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี     4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ  ˜ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม  š 4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. กรณีศึกษา  2. การนำเสนอผลงาน  3. ผลงานนิทรรศการ
1. ทำงานกลุ่ม  2. การนำเสนอผลงาน  3. รายงาน  4. ผลงานนิทรรศการ
 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม  ˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง  เหมาะสม  š 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. กรณีศึกษา  2. การนำเสนอผลงาน  3. ผลงานนิทรรศการ
1. ค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ  2. การนำเสนอผลงาน  3. รายงาน  4. ผลงานนิทรรศการ
6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
6.2 วิธีการสอน
6.3 วิธีการประเมินผล
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. มีคุณธรรมและจริยธรรม 2. มีจรรยาบรรณ 1. มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ 2. มีความรอบรู้ 1. สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ 2. สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 3. ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ 1. ภาวะผู้นำ 2. มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ 1. มีทักษะการสื่อสาร 2. มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. มีทักษะทางวิชาชีพ
1 BSCAG012 นวัตกรรมการจัดการฟาร์มอัจฉริยะ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล