การฟัง พูดเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ

Listening and Speaking for Specific Purposes

การฟังและพูดในหัวข้อต่างๆความสนใจ อาทิ ธุรกิจ การศึกษา อาชีพ และ บันเทิง ตลอดจนใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารนการพัฒนาทักษะการฟังพูดเพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆ
อย่างน้อย 1 ชั่วโมงหรือแล้วแต่ความต้องการของนักศึกษา
1. มีทัศนคติที่ดี เรารพศักดิ์ศรีและคุณค่าความเป็นมนุษย์
2. มีวินัย ตรงต่อเวลา และปฏิบัติตามวัฒนธรรมองค์กรที่ดี
3. มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1. สอดแทรกหลักจรรยาบรรผรทางวิชาากรหรือทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา
2. จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 
3. สร้างวัฒนธรรมองค์กรโดยมีผู้สอนเป็นแบบอย่างที่ดี เพื่อปลูกฝักให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีจรรยาบรรณและวิชาชีพ
4. ส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ทั้งภายในมหาวิทยาลัยและชุมชนเพื่อเรียนรู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำและการเป็นสมาชิกของกลุ่ม เคารพในคุณค่าศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.  การสังเกตุพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะและตระหนักนคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2. บันทึกแลติดตามการตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนการส่งงานตามกำหนด ระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
3. การประเมินตนเอง และการประเมินโดยเพื่อนร่วมชั้นเรียน
4. ประเมินผลงานโดยตรวจสอบการคัดลอกผลงานการเขียนทางวิชาากร
1. จดจำและออกเสียงภาษาอังกฤษและ หรือ ภาษาต่างประเทษได้อย่างถูกต้อง
3. เปรียบเทียบการใช้ภาษาอังกฤษในวัฒนธรรมที่หลากหลายได้
5. สรุปใจความและประเด็นสำคัญจากสิ่งที่ฟังและอ่านได้ถูกต้อง
6. ตีความ วิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความคิดเห็นด้านภาษาและวัฒนธรรมอย่างสร้างสรรค์
7. ประเมินความเหมาะสมของการใช้วัจนภาษา และอวัจนภาษาเพื่อการสื่อสารในบริบทวัฒนธรรมข่ามชาติได้ 
1. จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ
2. จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริงและสถานการณ์จำลอง
3. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยการศึกษาดูงาน หรือการเชิญผู้เชียวชาญมาเป็นวิทยากรให้ความรู้
4. มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอกความรู้แก่เพื่อนร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป
5. ศึกษาเรียนรูเพอ่มเติมด้วยตนเองโดยใช้เทคโนโลยีเพื่อการค้นคว้า หาความรู้ และการเรียนรู้ออนไลน์ในรูปแบบต่าง
6. สนับสนุนให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันด้านทักษะและความสามารถภาษาอังกฤษ ตลอดจนกิจกรรมการแลกเปลี่ยนนักศึกษานานาชาติ
1. สอลกลางภาคและปลายภาค โดยใช้หารสอบข้อเขียน และการสอบปากเปล่า
2. ทดสอบย่อยและการสอบปฏิบัติตามจุดประสงค์การเรียนรู้ในรายวิชา
3. การนำเสนอผลงานและการเขียนรานงานรายบุคคล รายคู่ และรายกลุ่ม
4. การสังเกตจากการอภิปรายกลุ่มและแสดงความคิดเห็น
 
2. มีทักษะในการนำความรู้มาประยุกต์และปรับเปลี่ยนตามวัฒนธรรมสากล
1. จัดกิจกรรมให้นักศึกาาได้ฝึกปฏิบัติผ่านทางบทบาทสมมติในสถานการ์จำลอง
2. การระดมสมองและอภิปรายโต้แย้งในหัวข้อที่กำหนด
3. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาตามแนว Constructivism (การสร้างความรู้ด้วยตนเอง) 
 
1. ประเมินตามสภาพจริงจากการผลงานและผลการปฏิบัติของนักศึกษา
2. ประเมินและติดตามกระบวนการปฏิบัติงาน
3. จัดการสัมมนา การอภิปรายกลุ่มและแสดงความคิดเห็น
4. การประเมินตนเอง และการประเมินโดยเพื่อนร่วมชั้นเรียน
5. การประเมินตนเองโดยการสะท้อนความคิดของผู้เรียน เพื่อรร่วมชั้นเรียนหรือคณาจารย์
ใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในสังคมข้ามวัฒนธรรม
1. สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางัสงคมที่ดีของวัฒนธรรมต่างๆในเนื้อหารายวิชา
2. จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่มในรายวิชา มุ่งเน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือกัน โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม
3. ส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆทั้งภายในมหาวิทยาลัยและบริการชุมชนเพื่อเรียนรู้กระบวนการกลุ่ม ทักษะสัมพันธ์ ภาวะผู้นำ ให้เกียรติ ตระหนักถึงหน้าที่และสิทธิมนุษย์
4. ส่งเสริมให้นักึกษาเข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนภาษาและวัฒนธรรมนานานาชาติ
1. การสังเเกตุพฤติกรรมและบทยาทของนักศึกษาในกระบวนกลุ่ม
2. ประเมินและติดตามกระบวนการเรียนรู้
3. การสะท้อนคิดต่อกระบวนการกลุ่ม
4. การประเมินตนเอง และการประเมินโดยเพื่อน
2. นำเสนอข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4. ใช้ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย  และภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างเหาะสม ตามกาลเทศะของบริบทวัฒนธรรมข้ามชาติ และวัฒนธรรมนานาชาติ
1. ปรับตัวเข้าสู่สังคมการทำงานในบริบทข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะในการปฏิบัติงาน
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีทัศนคิตที่ดี เคารพศักดิ์ศรีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ 1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามวัฒนธรรมองค์กรที่ดี 1.3 มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 2.1 จดจำ และออกเสียงภาษาอังกฤษ และหรือภาษาต่างประเทศได้อย่างถูกต้อง 2.3 เปรียบเทียบการใช้ภาษาอังกฤษในวัฒนธรรมที่หลากหลายได้ 2.5 สรุปใจความและประเด็นสำคัญจากสิ่งที่ฟังและอ่านได้ถูกต้อง 2.6 ตีความ วิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความคิดเห็นด้านภาษาและวัฒนธรรมอย่างสร้างสรรค์ 2.7 ประเมินความเหมาะสมของการใช้วัจนภาษาและอวัจนภาษาเพื่อสื่อสารในปริบทวัฒนธรรมข้ามชาติได้ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาประยุกต์และปรับเปลี่ยนตามวัฒนธรรมสากล 4.3. ใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในสังคมข้ามวัฒนธรรม 5.2 นำเสนอข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.4 .ใช้ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างเหมาะสมตามกาลเทศะของบริบทวัฒนธรรมนานาชาติ 6.1 ปรับตัวเข้าสู่สังคมการทำงานในปบริบทข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม
1 BOAEC152 การฟัง พูดเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 Attendance & participation & Discipline การตรงต่อเวลา ความสม่ำเสมอการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนด ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 Class Practices (Listening & Speaking) ประเมินผลการปฏิบัติตามเกณฑ์คะแนนที่ตั้งไว้ 2, 3, 5, 7, 12, 14, 16 40%
3 Midterm & Final Exam ข้อสอบกลางภาค ข้อสอบปลายภาค 10, 18 25% & 25%
เว็บไซด์ PowerPoint Presentation, Audio files, VDO ที่เกี่ยวข้องกับการฟังพูด
เว็บไซด์ PowerPoint Presentation, Audio files, VDO
เว็บไซด์ PowerPoint Presentation, Audio files, VDO
 
https://my-best.in.th/49405
 
https://cs.bru.ac.th/%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B0%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B9%83%E0%B8%88%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B9%80/
 
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=1246
 
https://kiiky.com/th/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%87/%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B8%9E%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B9%8C%E0%B9%82%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%81-youtube/
การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จากกิจกรรมดังต่อไปนี้ 1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 1.3 ข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้จากนักศึกษาผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ
 
-การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์ดังต่อไปนี้ 2.1 การสังเกตการณ์การสอนของหัวหน้าสาขาวิชา/หัวหน้าสาขา/ผู้ที่คณะมอบหมาย 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
นำผลประเมินการสอนตามข้อ 2 มาปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้ 3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 ดำเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาจากกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยหัวหน้าสาขาวิชา หรือหัวหน้าสาขา หรือผู้ที่คณะมอบหมาย 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ คะแนนภาคปฏิบัติ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5. การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา นำผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา มาวางแผนปรับปรุงการสอนและรายละเอียดของรายวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้จากรายวิชานี้ เข้ากับปัญหาที่มาจากงานวิจัยหรือประสบการณ์ของอาจารย์
นำผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา มาวางแผนปรับปรุงการสอนและรายละเอียดของรายวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้จากรายวิชานี้ เข้ากับปัญหาที่มาจากงานวิจัยหรือประสบการณ์ของอาจารย์