ภาษาอังกฤษเพื่อนันทนาการ
English for Recreation
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประเภทและกระบวนการจัดกิจกรรมนันทนาการ ฝึกทักษะการจัดกิจกรรมนันทนาการ เช่นการจัดค่ายภาษาอังกฤษ การจัดกิจกรรมในชมรมภาษาอังกฤษ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานในการจัดกิจกรรมนันทนาการ เป็นการเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาสามารถดำเนินการจัดกิจกรรมนันทนาการเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และสามารถนำองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไปได้
การเรียนรู้ประเภทและกระบวนการจัดกิจกรรมนันทนาการ ฝึกการจัดกิจกรรมนันทนาการ การจัดกิจกรรมในชมรมภาษาอังกฤษ
บรรยาย
สอนเสริม
การฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน
การศึกษาด้วยตนเอง
บรรยาย 30 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษา
สอบ 2 ชั่วโมง สอนเสริมตามความต้องการของนักศึกษาเป็นรายกรณี ฝึกปฏิบัติ 45 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษา
การศึกษาด้วยตนเองสัปดาห์ละ 4 ชั่วโมงรวมตลอดภาค 60 ชั่วโมง
สอบ 2 ชั่วโมง สอนเสริมตามความต้องการของนักศึกษาเป็นรายกรณี ฝึกปฏิบัติ 45 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษา
การศึกษาด้วยตนเองสัปดาห์ละ 4 ชั่วโมงรวมตลอดภาค 60 ชั่วโมง
ส่งเสริมผู้เรียนให้พัฒนาคุณธรรมจริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการ โดยเน้นที่ความมีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
สอดแทรกและส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม โดย
1.2.1 ให้นักศึกษาทำงานมอบหมายด้วยตนเอง โดยค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
1.2.2 กำหนดเกณฑ์ให้นักศึกษาได้สร้างวินัยในตนเอง เช่น การเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและสม่ำเสมอ การส่งงานตรงตามกำหนดเวลา ความอดทน และการมีส่วนร่วมกับกิจกรรมในชั้นเรียน
1.2.1 ให้นักศึกษาทำงานมอบหมายด้วยตนเอง โดยค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
1.2.2 กำหนดเกณฑ์ให้นักศึกษาได้สร้างวินัยในตนเอง เช่น การเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและสม่ำเสมอ การส่งงานตรงตามกำหนดเวลา ความอดทน และการมีส่วนร่วมกับกิจกรรมในชั้นเรียน
1.3.1 การเข้าเรียนตรงเวลา
1.3.2 การส่งงานตามเวลาที่กำหนด
1.3.3 การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน
1.3.2 การส่งงานตามเวลาที่กำหนด
1.3.3 การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน
พัฒนาผู้เรียนให้สามารถประยุกต์ความรู้ทางด้านภาษาอังกฤษกับการจัดกิจกรรมนันทนาการ และบูรณาการความรู้ที่ได้จากการศึกษาภาษาอังกฤษกับศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในรูปแบบของกิจกรรมนันทนาการ
ยึดหลักการเรียนการสอนที่ใช้กิจกรรมเป็นฐาน (activity-based) โดย
2.2.1 ให้ความรู้แก่นักศึกษาในบทเรียนต่าง ๆ แล้วให้ฝึกปฏิบัติตามกิจกรรมที่กำหนดในบทเรียน
2.2.2 ให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เพื่อนำมาฝึกปฏิบัติการจัดกิจกรรม
2.2.3 ให้นักศึกษาได้ศึกษาจากกรณีศึกษา และตัวอย่างต่าง ๆ
2.2.1 ให้ความรู้แก่นักศึกษาในบทเรียนต่าง ๆ แล้วให้ฝึกปฏิบัติตามกิจกรรมที่กำหนดในบทเรียน
2.2.2 ให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เพื่อนำมาฝึกปฏิบัติการจัดกิจกรรม
2.2.3 ให้นักศึกษาได้ศึกษาจากกรณีศึกษา และตัวอย่างต่าง ๆ
2.3.1 การทดสอบย่อย / สอบกลางภาค / สอบปลายภาค
2.3.2 การฝึกปฏิบัติการจัดกิจกรรมนันทนาการรูปแบบต่าง ๆ
2.3.3 ผลงานจากการค้นคว้าเพิ่มเติมของนักศึกษาและนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน
2.3.2 การฝึกปฏิบัติการจัดกิจกรรมนันทนาการรูปแบบต่าง ๆ
2.3.3 ผลงานจากการค้นคว้าเพิ่มเติมของนักศึกษาและนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน
พัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะในการปฏิบัติ โดยมุ่งเน้นที่ทักษะด้านการประยุกต์ความรู้ทางภาษาอังกฤษ มาประยุกต์และปรับเปลี่ยนได้เหมาะสมกับสถานการณ์ และวัฒนธรรมสากล
ยึดหลักการเรียนการสอนที่เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ โดย
3.2.1 ให้นักศึกษาค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์และสรุปข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ
3.2.3 ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการจัดกิจกรรมนันทนาการ
3.2.2 ให้นักศึกษาระดมสมองเป็นกลุ่ม เพื่อแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและข้อเสนอแนะให้แก่กัน
3.2.1 ให้นักศึกษาค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์และสรุปข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ
3.2.3 ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการจัดกิจกรรมนันทนาการ
3.2.2 ให้นักศึกษาระดมสมองเป็นกลุ่ม เพื่อแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและข้อเสนอแนะให้แก่กัน
3.3.1 การทดสอบภาคทฤษฎี และปฏิบัติ
3.3.2 การอภิปราย ซักถาม แสดงความคิดเห็น และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม
3.3.3 การฝึกปฏิบัติ การทำงานที่ได้รับมอบหมาย และการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
3.3.2 การอภิปราย ซักถาม แสดงความคิดเห็น และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม
3.3.3 การฝึกปฏิบัติ การทำงานที่ได้รับมอบหมาย และการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มี
4.1.1 มนุษยสัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 ภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
4.1.3 ทักษะในการทำงานเป็นทีม และการแก้ไขข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้นจากการทำงานได้อย่างเหมาะสม
4.1.1 มนุษยสัมพันธ์ และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 ภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
4.1.3 ทักษะในการทำงานเป็นทีม และการแก้ไขข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้นจากการทำงานได้อย่างเหมาะสม
4.2.1 จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้แสดงบทบาทสมมติต่าง ๆ
4.2.2 จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมแบบกลุ่มในชั้นเรียน โดยผลัดกันเป็นผู้นำกลุ่ม
4.2.3 กระตุ้นให้นักศึกษาช่วยกันค้นคว้า ระดมสมอง และแสดงความคิดเห็นในการฝึกปฏิบัติการจัดกิจกรรมนันทนาการต่าง ๆ
4.2.2 จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมแบบกลุ่มในชั้นเรียน โดยผลัดกันเป็นผู้นำกลุ่ม
4.2.3 กระตุ้นให้นักศึกษาช่วยกันค้นคว้า ระดมสมอง และแสดงความคิดเห็นในการฝึกปฏิบัติการจัดกิจกรรมนันทนาการต่าง ๆ
4.3.1 ให้นักศึกษาประเมินกันเองในกิจกรรมกลุ่ม
4.3.2 ผู้สอนประเมินจากการปฏิบัติงานกลุ่ม
4.3.3 สังเกตจากความสนใจ ความตั้งใจและการมีส่วนรวมของนักศึกษา
4.3.2 ผู้สอนประเมินจากการปฏิบัติงานกลุ่ม
4.3.3 สังเกตจากความสนใจ ความตั้งใจและการมีส่วนรวมของนักศึกษา
ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และทักษะในการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อเป็นเครื่องมือในการสืบค้น ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ
5.2.1 สอดแทรกเนื้อหาเกี่ยวกับการใช้สื่อและเทคโนโลยีเป็นเครื่องมือในการสืบค้นและศึกษา
5.2.2 ให้นักศึกษาฝึกใช้เทคโนโลยีประกอบการนำเสนอโครงงานการจัดกิจกรรม
5.2.2 ให้นักศึกษาฝึกใช้เทคโนโลยีประกอบการนำเสนอโครงงานการจัดกิจกรรม
5.3.1 ผลการฝึกจัดทำและใช้สื่อและเทคโนโลยีประกอบการนำเสนอของนักศึกษา
5.3.2 ผลจากการค้นคว้าข้อมูล และศึกษาเพิ่มเติมของนักศึกษา
5.3.2 ผลจากการค้นคว้าข้อมูล และศึกษาเพิ่มเติมของนักศึกษา
N/A
N/A
N/A
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1.คุณธรรมจริยธรรม | 2. ความรู้ | 3.ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6 คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ ศึกษาและประสบการณ์ เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | มีภาวะความเป็นผู้นําและผู้ตาม สามารถทํางานเป็นทีม และสามารถแก้ไข ข้อขัดแย้งได | มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในคุณคา่ ของคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ มีจิตสํานึกสาธารณะ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและผู้อื่น | ีความรู้และเข้าใจในสาระสําคัญเกี่ยวกับกระบวนการในการวางแผน การจัด การปฏิบัติการ การควบคุมและผลการดําเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ ที่หลากหลาย | สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา และความต้องการได | มีภาวะความเป็นผู้นําและผู้ตาม สามารถทํางานเป็น ทีม มีความรับผิดชอบ ยอมรับ ฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งไดอย่างเหมาะสม | มีความสามารถในการประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความ รับผิดชอบพร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอํานวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงานในการแก้ปัญหาสถานการณ์ ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นํา และในบทบาทของผู้ร่วมทีมทํางาน | สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนหลากหลาย ได้อย่างมีประสิทธิภาพ | สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม และสามารถนําเทคโนโลยีไป ใช้ในการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ | สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม และสามารถนําเทคโนโลยีไป ใช้ในการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ | สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาเชิง บูรณาการได้ด้วยการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความ อย่างมีเหตุผล |
1 | BOAEC131 | ภาษาอังกฤษเพื่อนันทนาการ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | (1) ด้านคุณธรรมจริยธรรม | 1.1 การเข้าเรียนตรงเวลาสม่ำเสมอ 1.2 การส่งงานตามเวลาที่กำหนด 1.3 การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
2 | (2) ด้านความรู้และ (3) ทักษะทางปัญญา | สอบกลางภาค สอบปลายภาค | 9 18 | 10% 10% |
3 | ด้านทักษะความสัมพันธ์ | 4.1 นักศึกษาประเมินกันเองในกิจกรรมกลุ่ม 4.2 ผู้สอนประเมินจากการปฏิบัติงานกลุ่ม (มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ความสนใจและ การมีส่วนรวมของนักศึกษา) | ตลอดภาคการศึกษา | 5% 5% |
4 | ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 5.1 ผลการฝึกจัดทำและใช้สื่อและเทคโนโลยีประกอบการนำเสนอของนักศึกษา 5.2 ผลจากการค้นคว้าข้อมูลและศึกษาเพิ่มเติมของนักศึกษา | 5.1 ผลการฝึกจัดทำและใช้สื่อและเทคโนโลยีประกอบการนำเสนอของนักศึกษา 5.2 ผลจากการค้นคว้าข้อมูลและศึกษาเพิ่มเติมของนักศึกษา | 10% |
5 | (6) ทักษะการปฏิบัติ | 6.1 จัดค่ายภาษาอังกฤษ 6.2 ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษระหว่างกิจกรรมค่ายภาษาฯ | 7-11 | 25% 25% |
ไม่มี
เอกสารประกอบการสอนวิชาภาษาอังกฤษเพื่อนันทนาการ
ประสิทธิ์ ตงยิ่งศิริ. (ม.ป.ป.). การจัดทำแผนและโครงการ. ม.ป.ท.
อเนก ช้างน้อย. 2532. นันทนาการ = Recreation. เชียงใหม่: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
Blanton, L. L. 2002. Idea Exchange 1: From speaking to writing. Boston: Heinle & Heinle.
Christopher N. Candlin. 1985. The Communicative Teaching of English Principles and an Exercise Typology. Longman Group. England.
Kelner, Lenore Blank. 1993. THE CREATIVE CLASSROOM. Portsmouth, NH: Heinemann.
Milburn, D. 1998. Alarm clocks: Weird and wonderful exercises for English language learners. Burlingame, CA: Alta Book Center.
Robbie, S., T. Ruggirello, and B. Warren. 2001. Using drama to bring language to life: Ideas, games and activities for teachers of languages and language arts. Ontario: Captus Press.
UNICEF. 1998. Games and Exercises A manual for Facilitators and Trainers Involved in Participatory Group Events. New York, USA.
9. เว็บไซต์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
9. เว็บไซต์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จากกิจกรรมดังต่อไปนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้จากนักศึกษาผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้จากนักศึกษาผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์ดังต่อไปนี้
2.1 การสังเกตการณ์การสอนของหัวหน้าสาขาวิชา/หัวหน้าสาขา/ผู้ที่คณะมอบหมาย
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
นำผลประเมินการสอนตามข้อ 2 มาปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 ดำเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาจากกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยหัวหน้าสาขาวิชา หรือหัวหน้าสาขา หรือผู้ที่คณะมอบหมาย
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ คะแนนภาคปฏิบัติ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5. การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา นำผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา มาวางแผนปรับปรุงการสอนและรายละเอียดของรายวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้จากรายวิชานี้ เข้ากับปัญหาที่มาจากงานวิจัยหรือประสบการณ์ของอาจารย์
นำผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา มาวางแผนปรับปรุงการสอนและรายละเอียดของรายวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้จากรายวิชานี้ เข้ากับปัญหาที่มาจากงานวิจัยหรือประสบการณ์ของอาจารย์