ระบบสารสนเทศทางการบัญชี
Accounting Information System
ศึกษาแนวความคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศทางการบัญชี หลักการจัดทำเอกสารของธุรกิจ เทคนิคและวิธีการของระบบสารสนเทศ การควบคุมภายในที่สำคัญ แนวคิดในการจัดทำรายงานเพื่อช่วยในการควบคุมและตัดสินใจ วงจรธุรกิจขั้นพื้นฐาน วงจรรายได้ วงจรรายจ่าย วงจรการผลิต วงจรเงินเดือนและค่าแรง ระบบบัญชีแยกประเภทและการรายงาน ประเภทของเอกสารและสารสนเทศที่เกี่ยวข้องในแต่ละวงจร แผนภาพทางเดินเอกสารและหลักการการวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศทางการบัญชี
เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจในระบบสารสนเทศทางการบัญชีและสามารถนำไปใช้ในการทำงานได้ เพื่อให้สอดคล้องกับสาระวิชาในกรอบหลักสูตรมาตรฐานด้านการบัญชีของสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาและคณะกรรมการบริหารวิชาชีพการบัญชี (การบัญชี)
ศึกษาแนวความคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศทางการบัญชี หลักการจัดทำเอกสารของธุรกิจ เทคนิคและวิธีการของระบบสารสนเทศ การควบคุมภายในที่สำคัญ แนวคิดในการจัดทำรายงานเพื่อช่วยในการควบคุมและตัดสินใจ วงจรธุรกิจขั้นพื้นฐาน วงจรรายได้ วงจรรายจ่าย วงจรการผลิต วงจรเงินเดือนและค่าแรง ระบบบัญชีแยกประเภทและการรายงาน ประเภทของเอกสารและสารสนเทศที่เกี่ยวข้องในแต่ละวงจร แผนภาพทางเดินเอกสารและหลักการการวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศทางการบัญชี
าจารย์ผู้สอนในชั่วโมง Home Room หรือรายกลุ่มตามต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1) มีความรู้ และความเข้าใจในหลักจริยธรรมพื้นฐานทางวิชาชีพบัญชี
2) สามารถประยุกต์หลักจริยธรรมพื้นฐานทางวิชาชีพในการแก้ไขปัญหาในทางปฏิบัติได้ย่างเหมาะสม
3) แสดงออกถึงความเป็นคนซื่อสัตย์ สุจริต เที่ยงธรรม ระมัดระวังรอบคอบในการทำงาน และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ และสังคม
2) สามารถประยุกต์หลักจริยธรรมพื้นฐานทางวิชาชีพในการแก้ไขปัญหาในทางปฏิบัติได้ย่างเหมาะสม
3) แสดงออกถึงความเป็นคนซื่อสัตย์ สุจริต เที่ยงธรรม ระมัดระวังรอบคอบในการทำงาน และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ และสังคม
การสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ในเนื้อหาที่เรียน ให้นศ.จัดกิจกรรม/ร่วมกิจกรรมที่แสดงถึงความมีเมตตา กรุณา เสียสละและการทำประโยชน์แก่ชุมชน กำหนดกติกาการเข้าเรียน การตรงต่อเวลา ความมีวินัย การส่งงาน และปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
ประเมินผลจากพฤติกรรมการเข้าเรียน การส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงเวลาที่กำหนด ประเมินผลจากการกระทำทุจริตในการสอบ
1) มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะการปฏิบัติด้านการบัญชี เพียงพอที่จะประยุกต์ใช้ในการ ปฏิบัติงาน
2) มีความรู้ ความเข้าใจ ในศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องเพียงพอที่จะประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน
3) มีความรู้และความเข้าใจในการจัดทำและนำเสนอสารสนเทศทางบัญชีที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้
๔) มีความสามารถในการประยุกต์หลักคณิตศาสตร์และสถิติในการประกอบวิชาชีพบัญชี
2) มีความรู้ ความเข้าใจ ในศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องเพียงพอที่จะประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน
3) มีความรู้และความเข้าใจในการจัดทำและนำเสนอสารสนเทศทางบัญชีที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้
๔) มีความสามารถในการประยุกต์หลักคณิตศาสตร์และสถิติในการประกอบวิชาชีพบัญชี
1) ใช้การสอนแบบกรณีศึกษา/บทความวิจัยในและต่างประเทศ เปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น สอบถามในประเด็นที่ไม่เข้าใจ
2) ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดยเน้นให้นักศึกษาหาทางค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning) การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต
3) ให้ทำงานกลุ่ม ในรูปแบบ Team based Learning และมอบหมายงาน
4) เชิญผู้เชี่ยวชาญ/มีประสบการณ์ด้านระบบสารสนเทศทางบัญชี/ส่วนงานที่เกี่ยวข้อง มาให้ความรู้เพิ่มเติมกับนักศึกษาเพื่อเกิดการเรียนรู้จากผู้มีประสบการณ์โดยตรง
ประเมินผลจากการทำแบบฝึกหัด หรือกรณีศึกษา ที่มอบหมาย ประเมินจากการทดสอบ การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค
มีทักษะการปฏิบัติทางวิชาชีพ การประยุกต์ใช้เหตุผลในการแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการที่ถูกต้องและเหมาะสม
2) มีความสามารถในการสืบค้นและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการที่ถูกต้องและเหมาะสม
3) มีความสามารถในการเรียนรู้และติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาชีพและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและของโลก
๔) มีความสามารถในการใช้ดุลยพินิจในการปฏิบัติงานทางบัญชีในเรื่องที่มีความสำคัญต่อองค์กร และสามารถแสดงความคิดเห็นหรือเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา
2) มีความสามารถในการสืบค้นและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการที่ถูกต้องและเหมาะสม
3) มีความสามารถในการเรียนรู้และติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาชีพและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและของโลก
๔) มีความสามารถในการใช้ดุลยพินิจในการปฏิบัติงานทางบัญชีในเรื่องที่มีความสำคัญต่อองค์กร และสามารถแสดงความคิดเห็นหรือเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา
ทำแบบฝึกหัดโดยใช้โจทย์ปัญหา / กรณีศึกษา /บทความวิจัย ในและต่างประเทศ ที่ค่อนข้างซับซ้อน ฝึกการคิดอย่างเป็นระบบ การอภิปรายกลุ่มเกี่ยวกับกรณีศึกษาที่ได้รับมอบหมายและนำเสนอ แก้ไข
ประเมินจากการทำแบบฝึกหัด แก้ปัญหาจากกรณีศึกษา ประเมินจากการสอบกลางภาค การสอบปลายภาค ผลงานกลุ่ม ประเมินจากคุณภาพของงานที่มอบหมายให้ทำ
มีอดทน ความรับผิดชอบ ทักษะทางสังคม และจิตสาธารณะ สามารถปรับตัวห้าเข้ากับสถานการณ์ต่าง ๆ วัฒนธรรมองค์กร และการทำงานร่วมกับผู้อื่น
มีหลักคิดและวิธีการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ สามารถทำงานให้สำเร็จ ตามเป้าหมายภายในระยะเวลาที่กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ
มีความคิดสร้างสรรค์ เพื่อการพัฒนาวิชาชีพการบัญชี
จัดกลุ่มวิเคราะห์กรณีศึกษา จากการมอบหมายงาน และสลับกันเป็นผู้นำกลุ่มในการนำเสนอ จัดกิจกรรมตอบปัญหา ซักถาม แสดงความคิดเห็นในแต่ละประเด็นที่กลุ่มนำเสนอ
ให้นักศึกษาประเมินตนเองและสมาชิกในกลุ่ม และประเมินเพื่อนกลุ่มอื่น ๆ ประเมินจากการเป็นผู้นำ และผู้ตามระหว่างเรียน รวมทั้งการส่งงาน
1) มีความสามารถในการวิเคราะห์เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ รวมทั้งการใช้ความรู้ ความสามารถเชิงเทคนิค ในการวางแผนงาน การควบคุม การประเมินผล และการรายงานผล ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม โดยคำนึงถรึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
2) มีความสามารถในการปฏิบัติและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางการบัญชี โดยเฉพาะเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีในปัจจุบัน เพื่อพัฒนากระบวนการทำงานด้านวิชาชีพให้มีประสิทธิภาพ
3) มีความสามารถในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน โดยเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับสถานการณ์
2) มีความสามารถในการปฏิบัติและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางการบัญชี โดยเฉพาะเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีในปัจจุบัน เพื่อพัฒนากระบวนการทำงานด้านวิชาชีพให้มีประสิทธิภาพ
3) มีความสามารถในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน โดยเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับสถานการณ์
จัดกลุ่มวิเคราะห์กรณีศึกษา และนำเสนองาน ฝึกการวิเคราะห์ และนำเสนอโดยใช้รูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์ มอบหมายงานให้ทำเป็นกลุ่มเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียนเกี่ยวกับการวิเคราะห์ตัวเลข โดยให้กลุ่มเป็นผู้กำหนดหัวข้อศึกษาและนำเสนอในชั้นเรียน
การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค ผลงานกลุ่ม การสืบค้น การใช้ภาษาเขียนรายงาน และการนำเสนอในชั้นเรียน ทั้งรายบุคคลและ รายกลุ่ม แก้ไข
-
-
-
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1,2,3,4,5 | การนำเสนองาน การคิดวิเคราะห์ การสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีการสื่อสาร ๑ ศึกษาข้อมูลบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ พิจารณาว่า ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการดำเนินงานองค์กร อะไร และอย่างไรบ้าง ๒ ค้นคว้างานวิจัย/บทความวิจัย/วิชาการเกี่ยวกับระบบสารสนเทศทางบัญชี นำมาวิเคราะห์ความสำคัญ และผลกระทบของ AIS ที่มีต่อองค์กร และมีผลต่อการตัดสินใจ อย่างไรบ้าง | ๓ | ๑๐% |
2 | 1,2,3,4,5 | การนำเสนองาน การคิดวิเคราะห์ การสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีการสื่อสาร ๓ นำข้อมูลจากการศึกษาสถานประกอบการ/วิสาหกิจ และเขียน Flowchart ทางเดินเอกสาร ๔ สืบค้นซอฟต์แวร์ทางการบัญชีที่มีอยู่ในปัจจุบัน ศึกษารายละเอียดของซอฟต์แวร์ | ๘ | ๑๐% |
3 | 1,2,3,4,5 | ๕การนำเสนองาน การคิดวิเคราะห์ การสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีการสื่อสาร นำความรู้วงจรธุรกิจขั้นพื้นฐานประยุกต์ใช้กับสถานประกอบการ/วิสาหกิจชุมชนที่ได้ไปศึกษามาอย่างน้อย 2 วงจร/รูปเล่มรายงาน | ๑๖ | ๑๐% |
4 | 1,2,3,4,5 | สอบกลางภาค/ปลายภาค | ๑๐, ๑๘ | ๖0% |
5 | 1,3,4 | การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง 1 เรื่อง การเข้าชั้นเรียน การส่งงาน การแต่งกายตามระเบียบ | สุ่มรายสัปดาห์ | ๑๐% |
พวงทอง วังราษฏร์. (256๔) เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ระบบสารสนเทศทางการบัญชี. ลำปาง: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง.
นภมณี เตพละกุล และ เอมอร ใจเก่งกิจ. (2561). Block chain กับการรายงานขององค์กร. จุลสารสมาคมการบัญชีไทย. 14(2), 37 – 40.
พลพธู ปียวรรณ, และกัญนิภัทธิ์ นิธิโรจน์ธนัท (2562). ระบบสารสนเทศทางการบัญชี, พิมพ์ครั้งที่ 11 กรุงเทพมหานคร: วิทยพัฒน์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2551). พจนานุกรมศัพท์ศึกษาศาสตร์ (อักษร A-L) ฉบับราชบัณฑิตยสถาน.
กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์.
วิไล วีระปรีย, จงจิต หลีกภัย และประจิต หาวัตร. (2553). ระบบบัญชี, พิมพ์ครั้งที่ 25. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วัชนีพร เศรษฐสักโก (2564). ระบบสารสนเทศทางการบัญชี, พิมพ์ครั้งที่ 13. กรุงเทพมหานคร:
วี.เจ.พริ้นติ้ง.
ศรัญย์ ชูเกียรติ. (2562).ระบบสารสนเทศทางการบัญชี, กรุงเทพมหานคร: ทีพีเอ็น เพรส.
อุเทน ลำเนาทา. (2559). การวางระบบบัญชี, มหาสารคาม: สารคามการพิมพ์-สารคามเปเปอร์.
Amiri, A. And Salari, H. 2013. Effect of Accounting Information System (AIS) on Software qualitative. International Journal of Business and Management Invention, Volume 2, Issue 4, PP.06-11.
Romney, Marshall B. and Paul John Steinbart. 2012. Accounting Information Systems. 12th edition. Prentice Hall International, Inc.
Simkin, M.G., Rose, J.M. and Norman, C.S. 2013. Accounting Information Systems. 12th edition. John Wiley & Sons, Singapore.
สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรม ราชูปถัมภ์, 2563 https://www.tfac.or.th/Article/Detail/126283 (3 เมษายน 2566)
CGMA, “Building a better business, together: Welcome to finance business partnering, 2018
พลพธู ปียวรรณ, และกัญนิภัทธิ์ นิธิโรจน์ธนัท (2562). ระบบสารสนเทศทางการบัญชี, พิมพ์ครั้งที่ 11 กรุงเทพมหานคร: วิทยพัฒน์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2551). พจนานุกรมศัพท์ศึกษาศาสตร์ (อักษร A-L) ฉบับราชบัณฑิตยสถาน.
กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์.
วิไล วีระปรีย, จงจิต หลีกภัย และประจิต หาวัตร. (2553). ระบบบัญชี, พิมพ์ครั้งที่ 25. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วัชนีพร เศรษฐสักโก (2564). ระบบสารสนเทศทางการบัญชี, พิมพ์ครั้งที่ 13. กรุงเทพมหานคร:
วี.เจ.พริ้นติ้ง.
ศรัญย์ ชูเกียรติ. (2562).ระบบสารสนเทศทางการบัญชี, กรุงเทพมหานคร: ทีพีเอ็น เพรส.
อุเทน ลำเนาทา. (2559). การวางระบบบัญชี, มหาสารคาม: สารคามการพิมพ์-สารคามเปเปอร์.
Amiri, A. And Salari, H. 2013. Effect of Accounting Information System (AIS) on Software qualitative. International Journal of Business and Management Invention, Volume 2, Issue 4, PP.06-11.
Romney, Marshall B. and Paul John Steinbart. 2012. Accounting Information Systems. 12th edition. Prentice Hall International, Inc.
Simkin, M.G., Rose, J.M. and Norman, C.S. 2013. Accounting Information Systems. 12th edition. John Wiley & Sons, Singapore.
สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรม ราชูปถัมภ์, 2563 https://www.tfac.or.th/Article/Detail/126283 (3 เมษายน 2566)
CGMA, “Building a better business, together: Welcome to finance business partnering, 2018
เว็บไซด์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
www.fap.or.th
www.dbd.go.th
www.set.or.th
www.settrade.com
ACCA: www.accaglobal.com
www.fap.or.th
www.dbd.go.th
www.set.or.th
www.settrade.com
ACCA: www.accaglobal.com
วิธีการประเมินประสิทธิผลในรายวิชาโดยนักศึกษา มีดังนี้
แบบประเมินผลการสอนอาจารย์ผู้สอน ซึ่งเป็นแบบประเมินผลการสอนของมหาวิทยาลัยที่กำหนดให้มีการประเมินการสอนอาจารย์ผู้สอนโดยนักศึกษาทุกภาคการศึกษา แบบประเมินผลการสอนอาจารย์ผู้สอน ซึ่งเป็นแบบประเมินผลการสอนที่อาจารย์ผู้สอนจัดทำขึ้นเพื่อให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการสอนของอาจารย์ผู้สอนในระหว่างภาคการศึกษาและปลายภาคการศึกษา ในรูปแบบต่าง ๆ ประเมินการประยุกต์ใช้ความรู้เนื้อหาที่เรียน นำไปใช้กับสถานประกอบการ
แบบประเมินผลการสอนอาจารย์ผู้สอน ซึ่งเป็นแบบประเมินผลการสอนของมหาวิทยาลัยที่กำหนดให้มีการประเมินการสอนอาจารย์ผู้สอนโดยนักศึกษาทุกภาคการศึกษา แบบประเมินผลการสอนอาจารย์ผู้สอน ซึ่งเป็นแบบประเมินผลการสอนที่อาจารย์ผู้สอนจัดทำขึ้นเพื่อให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการสอนของอาจารย์ผู้สอนในระหว่างภาคการศึกษาและปลายภาคการศึกษา ในรูปแบบต่าง ๆ ประเมินการประยุกต์ใช้ความรู้เนื้อหาที่เรียน นำไปใช้กับสถานประกอบการ
ผลการสอบของนักศึกษาและการวิเคราะห์ข้อสอบเพื่อตรวจสอบมาตรฐานของข้อสอบ
การสังเกตการณ์สอนของสาขา โดยแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินหรือจากการสังเกตการสอนจากอาจารย์ในสาขา
การทบทวนมาตรฐานการเรียนรู้
การจัดทำการรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และวิเคราะห์ผลจากรายงานเพื่อนำมาปรับปรุงการสอน
ผู้สอนปรับปรุงการสอนจากผลการประเมินปีที่ผ่านมาโดยการเพิ่มทักษะการคิดวิเคราะห์ จากกรณีศึกษาสถานประกอบการจริง และทักษะการนำเสนองานมากขึ้น จัดกิจกรรมให้นศ.ได้นำเสนองานหน้าชั้นเรียน/ผ่าน MS Team ถามตอบปัญหาจากเพื่อนร่วมชั้นเรียน
ผู้สอนเสริมเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับระบบสารสนเทศทางบัญชี โดยประสานเจ้าหน้าที่ฝ่ายวิทยบริการอบรมการใช้ Microsoft Visio เพื่อการออกแบบ วางแผน วาดภาพ แผนภาพของระบบงานต่าง ๆ และโปรแกรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ได้จากการตรวจผลงานและการนำเสนองานของนักศึกษา การสอบถามนักศึกษา การพิจารณาผล การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค
การนำผลการประเมินจาก ข้อ 1 2 และ 4 มาทบทวนและวางแผนเพื่อปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาทุกปี