การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ทางวิชาชีพ

Research for Professional Learning Development

1. เข้าใจระเบียบวิธี รูปแบบ ขั้นตอน และกระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้

2. นำความรู้เกี่ยวกับการวิจัยและเทคโนโลยีดิจิทัลในการแสวงหาความรู้ไปใช้ในการแก้ปัญหาและพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้

3. ตระหนักถึงความสำคัญของการวิจัยเพื่อแสวงหาความรู้ พัฒนาความรู้ ตลอดจนแก้ปัญหาการเรียนรู้

4. มีจรรยาบรรณนักวิจัย
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการ แนวคิด ประเภท แนวปฏิบัติในการวิจัย เลือกหัวข้อและกำหนดประเด็นปัญหาของงานวิจัย ประยุกต์เทคโนโลยีดิจิตัลในการศึกษาและทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การออกแบบการวิจัย การกำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
การวิจัยเพื่อสร้างนวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหาพัฒนาการเรียนรู้และทักษะปฏิบัติ สร้างเครื่องมืองานวิจัย ดำเนินการวิจัยตามกระบวนการวิจัย วิเคราะห์ผลและสรุปผลการวิจัย เขียนรายงานการวิจัย และนำเสนอผลการวิจัย เขียนบทความวิจัยโดยคำนึงถึงจรรยาบรรณนักวิจัย
1. อาจารย์ประจำรายวิชาให้นักศึกษาติดต่อโดยตรงและติดต่อสื่อสารผ่านทางสื่ออิเล็คทรอนิกส์ 2. อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการและความเหมาะสม 
1. ปฏิบัติตนตามหลักคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณนักวิจัย
2. สามารถแก้ปัญหาด้านคุณธรรม จริยธรรมนักวิจัยโดยคำนึงถึง สิทธิมนุษยชน ค่านิยมพื้นฐาน และจรรยาบรรณนักวิจัย
3. ความรับผิดชอบและซื่อสัตย์สุจริตต่อหน้าที่ ทั้งในด้านวิชาการ วิชาชีพ ชุมชน และสังคม
4. เป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่นทั้งในด้านการดำรงตนและการปฏิบัติงาน
บรรยาย ตั้งคำถาม อภิปรายกลุ่ม วิเคราะห์งานวิจัยทางการศึกษาเกี่ยวกับประเด็นจริยธรรม และปฏิบัติการวิจัย
พฤติกรรมการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในกิจกรรม ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงเวลา ประเมินผลการอภิปรายกลุ่ม วิเคราะห์งานวิจัยทางการศึกษา ประเมินจากการอ้างอิงอย่างเหมาะสมและถูกต้องของรายงาน ประเมินร่วมกันระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1. มีความรู้ความเข้าใจในระเบียบวิธี รูปแบบ ขั้นตอน และกระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ 
2. ประยุกต์ความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของกระบวนการวิจัย และการนำผลการวิจัยไปใช้ในการเรียนการสอนได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
3.  มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีดิจิตัลในการแสวงหาความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
4. มีทักษะในปฏิบัติการวิจัย
บรรยายร่วมกับอภิปราย ตั้งคำถาม การทำงานกลุ่ม วิเคราะห์งานวิจัย การมอบหมายงาน และฝึกปฏิบัติการวิจัย
ทดสอบกลางภาคและปลายภาค การตอบคำถาม รายงาน การนำเสนองาน/นำเสนอผลการอภิปรายและผลการวิเคราะห์ และการปฏิบัติการวิจัย
1. ตระหนักรู้ในศักยภาพของตน เพื่อพัฒนาตนเองให้มีความสามารถที่นำไปสู่การแสวงหาความรู้ที่มีประสิทธิภาพ
2. สามารถสืบค้น ทำความเข้าใจ วิเคราะห์ และประเมินข้อมูล แนวคิด และหลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และนำข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ
3. สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจอันถ่องแท้ในเนื้อหาสาระทางวิชาการ เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่มีคุณภาพในการทำงาน
4. สามารถพัฒนาวิธีการแก้ไขปัญหาที่มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับสถานการณ์และบริบททางสังคมที่เปลี่ยนไป โดยคำนึงถึงความรู้และผลกระทบจากการตัดสินใจ
บรรยายร่วมกับอภิปราย ตั้งคำถาม การทำงานกลุ่ม วิเคราะห์งานวิจัย การมอบหมายงาน และการปฏิบัติการวิจัย
การตอบคำถาม รายงาน การนำเสนองาน/นำเสนอผลการอภิปรายและผลการวิเคราะห์ และการปฏิบัติ
 
1. มีปฏิสัมพันธ์อย่างสร้างสรรค์กับบุคคลที่เกี่ยวข้อง
2. สามารถทำงานเป็นทีมในบทบาทผู้นำและสมาชิกกลุ่มในบริบทหรือสถานการณ์ที่แตกต่างกัน
3. สามารถแสดงออกซึ่งภาวะผู้นำในการผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดี ในสถานการณ์ที่หลากหลายและสถานการณ์เฉพาะหน้า
4. มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ต่อสังคม และรับผิดชอบในการพัฒนาตนเอง องค์การและสังคมอย่างต่อเนื่อง
บรรยายร่วมกับอภิปราย การทำงานกลุ่ม ตั้งคำถาม มอบหมายงาน การนำเสนอผลงาน
การตอบคำถาม รายงาน การนำเสนองาน/นำเสนอผลการอภิปรายและผลการวิเคราะห์
1. สามารถสื่อสารทั้งการฟัง พูด เขียน ทำรายงานและนำเสนอได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2 มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการิเคราะห์ แปลความหมาย และนำเสนอข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับการวิจัย
 3. สามารถใช้เทคโนโลยีดิจิตัลในการสืบค้นข้อมูลเพื่อทำวิจัย รายงาน เตรียมและนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม 
บรรยายร่วมกับอภิปราย การทำงานกลุ่ม มอบหมายงานวิจัย
รายงานวิจัย  การนำเสนองาน/นำเสนอผลการอภิปรายและผลการวิเคราะห์
สามารถกำหนดปัญหาปัญหาวิจัย สามารถออกแบบงานวิจัย สามารถสร้างและวิเคราะห์คุณภาพเครื่องมือวิจัย สามารถใช้เทคโนโลจีดิจิตัลในการค้นคว้าหาความรู้
สามารถวิเคราะห์ข้อมูล
สามารถเขียนเค้าโครงวิจัย สามารถเขียนรายงานการวิจัย และนำเสนองานวิจัยในรูปแบบต่างๆกัน
กิจกรรมฝึกปฏิบัติการเลือกหัวข้อวิจัย การกำหนดปัญหาวิจัย การตั้งชื่อเรื่อง
กิจกรรมการออกแบบการวิจัย
กิจกรรมการเขียนจุดประสงค์การวิจัย การเขียนสมมุติฐาน กลุ่มประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
กิจกรรมการวิเคราะห์ข้อมูล
กิจกรรมเขียนเค้าโครงวิจัย
ปฏิบัติการวิจัยและนำเสนองานวิจัย
ผลการฝึกปฎิบัติ ทดสอบ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา มีคุณธรรม ความรอบรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา จรรยาบรรณ ความรู้ คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ การวางแผน ความเป็นผู้นำ ความรับผิดชอบ คิดสร้างสรรค์ มนุษยสัมพันธ์ การค้นคว้า การสื่อสาร การนำเสนอ
1 TEDCC832 การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1-3.3 สอบกลางภาค 5 25
2 1.1-6.2 ปฏิบัติ ตลอดภาคการศึกษา 30
3 4.1-6.2 สอบปลายภาค 17 25
4 1.1-6.2 การมีส่วนร่วมอภิปราย/การตอบคำถาม การวิเคราะห์และการนำเสนอ การทำรายงาน/งานกลุ่มและผลงาน และการ นำเสนอ ตลอดภาคการศึกษา 10
5 1.1-6.2 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรม ตลอดภาคการศึกษา 10
อรอนงค์ นิยมธรรม. (2566). การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้วิชาชีพ. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก.
ครุรักษ์ ภิรมย์รักษ์. (2543). เรียนรู้และฝึกปฏิบัติการวิจัยในชั้นเรียน. ชลบุรี: งามช่าง.

ชิดชนก เชิงเชาว์. (2539). วิธีวิจัยทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 3. สงขลา : สำนักวิทยบริการมหาวิทยาลัยสงขลา           นครินทร์.

ชูศรี วงศ์รัตนะ และคณะ . (2544). การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: ทิปส์พับบลิเคชั่นจากัด .

________. เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย. (2550). พิมพ์ครั้งที่ 10. นนทบุรี: ไทเนรมิตกิจ อินเตอร์        โปรเกรสซีฟ

ณรงค์ ฉายานนท์. (2536). ระเบียบวิธีวิจัย. คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, อัด          สำเนา.

ณรงค์ โพธิ์พฤกษานันท์ . (2556). ระเบียบวิธีวิจัย หลักการและแนวคิดและเทคนิคการเขียนรายงานการวิจัย.          พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: เอ๊กซเปอร์เน็ท.

ทิศนา แขมมณี. (2538). เส้นทางสู่งานวิจัยในชั้นเรียน. กรุงเทพมหานคร : บพิธการพิมพ์.

เทียนฉาย กีระนันท์ และ จรัล จันทลักขณา. (2535). หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการวิจัย ใน สถิติ วิจัยและการ          ประเมินผลการศึกษา หน่วยที่ 1-8 . พิมพ์ครั้งที่ 4. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มสธ.

________. (2535). หน่วยที่ 2 วิธีการดำเนินงานวิจัย. ใน สถิติ วิจัย และการประเมินผลการศึกษา หน่วยที่ 1-8           พิมพ์ครั้งที่ 4. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มสธ.

นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2555). สถิติชวนใช้. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ไอคอนพริ้นติ้ง.

บุญชม ศรีสะอาด. (2554). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 9 แก้ไขเพิ่มเติม. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2540). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์และทำ         ปกเจริญผล

_______. การเขียนรายงานการวิจัยและวิทยานิพนธ์. (2553). พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เรือนแก้ว. บุญเรียง ขจรศิลป์. (มปท). การวางแผนวิจัยทางการศึกษา. เอกสารอัดสำเนา.

________. (มปท). การวิจัยทางการศึกษา. เอกสารอัดสำเนา.

ประวิต เอราวรรณ์. (2542). การวิจัยในชั้นเรียน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ดอกหญ้าวิชาการจำกัด.

ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกูล. (2543). การวิจัยในชั้นเรียน. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2544). การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ปฏิบัติการวิจัยในชั้นเรียน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: คณะ              ครุศาสตร์สถาบันราชภัฏพระนคร.

ไพจิตร สดวกการ. (2545). การวิจัยในชั้นเรียน. กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ์.

ภัทรา นิคมานนท์. (2539). ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย. กรุงเทพฯ: บริษัทอักษราพิพัฒน์จำกัด.

มนัส สุวรรณ. (2549). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โอเดียน        สโตร์.

มลิวัลย์ สมศักดิ์ และคณะ. (2547). ชุดฝึกอบรมการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้. นครศรีธรรมราช คณะครุศาสตร์            มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช.

รวีวรรณ ชินะตระกูล. (2542). การทำวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: บริษัททีพีพรินท์จำกัด.

เรืองอุไร ศรีนิลทา. (2535). ระเบียบวิธีวิจัย. กรุงเทพฯ: สำนักส่งเสริมและฝึกอบรม ม. เกษตรศาสตร์.

วรรณี แกมเกตุ. (2555). วิธีวิทยาการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่ง       จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,. วรัญญา ภัทรสุข. (2552). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์        มหาวิทยาลัย.

วิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: การศาสนา.

วีรยา ภัทรอาชาชัย. (2539). หลักการวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: บริษัทอินเตอร์ เทค พริ้นติ้ง        จำกัด.

สิน พันธุ์พินิจ. (2551). เทคนิคการวิจัยทางสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: วิทยพัฒน์.

สุวัฒนา สุวรรณเขตนิคม. (2538). หลักการแนวคิดและรูปแบบเกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียน. (น.6-11 ) ในลัด         ดา ภู่เกียรติ. (บรรณาธิการ) เส้นทางสู่การวิจัยในชั้นเรียน. กรุงเทพฯ: บพิธการพิมพ์.

สุวิมล ติรกานันท์. (2548). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ :แนวทางสู่ทางปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 5.         กรุงเทพฯ. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุวิมล ว่องวาณิช. (2548). การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ :จุฬาลงกรณ์          มหาวิทยาลัย.

ส่งศักดิ์ ทิตาราม. (2535). หน่วยที่ 3 ข้อมูลและการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการวิจัย ใน สถิติ วิจัยและการประเมิน            ผลการศึกษา หน่วยที่ 1-8 . พิมพ์ครั้งที่ 4. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มสธ.

สมบัติ บุญประคม. (ตุลาคม 2545). “ครูกับการวิจัยในชั้นเรียน การวิจัยเชิงปฏิบัติการทางเลือกใหม่ที่น่าสนใจ”.           วารสารวิชาการ. 5(10) : 35.

สรชัย พิศาลบุตร. (2535). หน่วยที่ 4 การเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสำรวจและทดลอง. ใน สถิติ หน่วยที่ 1-8 .           พิมพ์ครั้งที่ 4. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มสธ

________. (2535). หน่วยที่ 5 การประมวลผลข้อมูลและการนำเสนอข้อมูล. ใน สถิติ วิจัยและการประเมินผล         การศึกษา หน่วยที่ 1-8 . พิมพ์ครั้งที่ 4. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มสธ.

________. (2535). หน่วยที่ 6 การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น. ใน สถิติ วิจัยและการประเมินผลการศึกษา หน่วยที่         1-8 . พิมพ์ครั้งที่ 4. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มสธ.
 
สำอาง สีหาพงษ์. (กันยายน 2544). “การวิจัยในชั้นเรียน”. วารสารวิชาการ. 4(9) : 62-63.

อนงค์พร สถิตย์ภาคีกุล. (กรกฎาคม 2544). “คำถามน่ารู้กับการวิจัยในชั้นเรียน”. วารสารวิชาการ.4(7): 62.

อุทุมพร (ทองอุไร) จามรมาน. (2544). การวิจัยในชั้นเรียนและในโรงเรียนเพื่อพัฒนานักเรียน.กรุงเทพฯ: โรง         พิมพ์ฟันนี่.

________. (2535). หน่วยที่ 8 สถิติที่ใช้เพื่อการวิจัยและการวัดผลการศึกษา. ใน สถิติ วิจัยและการประเมินผล        การศึกษา หน่วยที่ 1-8 . พิมพ์ครั้งที่ 4. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มสธ.

Kerliner, Fred N. (2000). Foundations of behaviour research. 4th ed. USA: Wadsworth thomson        learning,

Kiess, Harold O. (2001). Statistical concepts for the behavioural sciences. 2nded. Boston:        Ally and Bacon.

Kirt, Roger E. (1995). Experimental Design: Procedures for the behavioral sciences. CA:       Brooks/Cole publishing company.
Kerlinger,Fred N. & Lee, Howard B. (2000). Foundations of Behavioral Research. 4th ed. Australia: Wadsworth Thomson Learning.
Richardson, Virginia. (2001). Handbook of Research on Teaching. 4th ed. Washington, D.C.: American educational research association.
Yamane, Taro. (1970). Statistics: an Introductory Analysis. New York: Harper&Row.

http://www.riclib.nrct.go.th/

http://www.library.tu.ac.th/

http://www.lib.swu.ac.th/

http://www.hs.chula.ac.th/
1.1 นักศึกษาประเมินผู้สอนและประเมินรายวิชา 1.2 นักศึกษาเป็นผู้สะท้อนคิด (Reflective Journal)
2.1 การสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน 2.2 ผลงานและการนำเสนอ
2.3 ผลการปฏิบัติ 2.4 ผลการทดสอบ
ใช้หลักการประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการเรียน ผลงาน และผลการทดสอบ ร่วมกับให้นักศึกษาตรวจสอบผลการเรียนรู้ของตนเองและประเมินตนเอง
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3-5 ปี

5.2 สัมมนาผู้คุณวุฒิจากภายนอกเพื่อหาแนวทางในการวางแผนปรับปรุงรายวิชา