การจัดการโมเดลทางธุรกิจในยุคดิจิทัล

Business Model Management in the Digital Era

1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดของการจัดการความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมอย่างเป็นระบบ
2. เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจความเชื่อมโยงระหว่างการจัดการความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรมและเทคโนโลยีกับการบริหารธุรกิจได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
3. เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจองค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์และการคิดเชิงวิเคราะห์ในระดับบุคคล ระดับกลุ่ม และระดับองค์กร ความสามารถในการสร้างนวัตกรรมสำหรับองค์กรและการจัดหาแหล่งเทคโนโลยี การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ
4. เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์องค์ความรู้ในเชิงทฤษฎีการจัดการความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมกับการบริหารธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เพื่อให้รายวิชามีความทันสมัยทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกธุรกิจ และตรงกับความต้องการของผู้เรียนและกลุ่มผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง สามารถผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติให้มีความรู้ความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติ มีทักษะพื้นฐานทางธุรกิจยุคใหม่ ความสามารถในการปรับตัวสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป สามารถบูรณาการความรู้ระหว่างศาสตร์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมและมีคุณภาพสอดคล้องต่อความต้องการของตลาดแรงงาน
แนวคิดเกี่ยวกับโมเดลธุรกิจ การสร้างโมเดลธุรกิจ การพัฒนาโมเดลธุรกิจ ความหมายของโมเดลธุรกิจดิจิทัล โมเดลธุรกิจดิจิทัลแบบไฮบริด นวัตกรรมโมเดลธุรกิจดิจิทัล กรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องกับโมเดลธุรกิจในปัจจุบันที่น่าสนใจ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามเวลาต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1. มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ทางธุรกิจ มีจิตสำนึกสาธารณะ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรมเสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเองและผู้อื่น 2. มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม มีความ สำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม 3. มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
มีการสอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา รวมทั้งปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงเวลา ส่งงานภายในเวลาที่กำหนด ตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัยมีการมอบหมายงานกลุ่ม เน้นการเป็นผู้นำและการเป็นสมาชิกกลุ่ม เน้นความมีส่วนร่วมและแสดงความคิดเห็น และมีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม
1. ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2. ประเมินจากการเข้าเรียนตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 3. สังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่มและความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญใน เนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนา ความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง 2. มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบาย ความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะและสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและ การดำรงชีวิตประจำวัน 3. มีความรู้และความเข้าในในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การ ปฏิบัติการ การควบคุมและผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุง แผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะของ รายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ และมอบหมายให้ทำงานกลุ่มและนำเสนอรายงานจากการวิเคราะห์สถานการณ์จริงขององค์กรธุรกิจ โดยการศึกษาโดยใช้ปัญหาเป็นหลัก (Problem-Based Learning) , การศึกษาโดยใช้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (Student Center)รวมถึงการจัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการวิเคราะห์ธุรกิจจากสภาพแวดล้อมจริง นอกจากนั้นยังใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้าน ทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง และการบรรยายในชั้นเรียน ถาม-ตอบ
1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 2. ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสนอ 3. ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา 4. ประเมินจากการนำเสนอผลงาน 5. ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้าหน้าชั้นเรียน
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญใน เนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนา ความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง 2. มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบาย ความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะและสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและ การดำรงชีวิตประจำวัน 3. มีความรู้และความเข้าในในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุง แผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
1. การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน  2. การมอบหมายงาน การแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง  3. จัดให้ในรายวิชามีกิจกรรมที่เสริมสร้างการพัฒนาทักษะทางเชาว์ปัญญา ความคิด การ วิเคราะห์และสังเคราะห์ด้านต่างๆ ทั้งในสาขาและนอกสาขา นอกจากนั้นยังใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้าน ทฤษฎีควบคู่กับการฝึกปฏิบัติในการคิด วิเคราะห์ แนวคิดในการดำเนินธุรกิจจากสภาพแวดล้อมจริง โดยมุ่งการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก Problem Based Learning และเรียนรู้โดยใช้โครงงาน Project Based Learning
ประเมินจากการนำเสนอโครงงาน รายงานการวิจัย อภิปรายกรณีศึกษา และประเมินจากผลงานกลุ่มในการวิเคราะห์ปัญหา การแก้ไข ปัญหา และเสนอแนวทางใหม่ในการแก้ไข ปัญหาและการออกแบบแนวคิดการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการประกอบธุรกิจ
1. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความ รับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้ง สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิง วิชาชีพได้ 2. มีความสามารถในการแสดงความคิดริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง และแสดงความคิดเห็นใหม่ ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไข ปัญหาของทีม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมใน ประเด็นที่เหมาะสม
1. จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำ และผู้ตาม 2. จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและการ อภิปรายเพื่อหาข้อสรุป 3. มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน
1. ประเมินจากพฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา 2. ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา 3. สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง (Brainstorming)
1. สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ มาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวัน 2. สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของ สื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้ง ในรูปแบบการเขียนรายงาน และการน าเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสม อย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างสรรค์ 3. สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม และสามารถนำ เทคโนโลยีไปใช้สนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
1. มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ  2. ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูลและนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้องและให้ ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล  3. ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจจากข้อมูลบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข 
1. ผลงานของนักศึกษาจากงานที่มอบหมายให้แต่ละบุคคล และเลือกการนำเสนอด้วย เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม 2. ประเมินจากการอธิบายหลักการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. ประเมินจากการสรุปและอภิปรายงาน/กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ตัวเลข ซึ่ง ได้รับมอบหมายร่วมกัน
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพ ได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4
1 BBABA237 การจัดการโมเดลทางธุรกิจในยุคดิจิทัล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2 ,1.3 ,1.6 3.1, 3.2 , 3.3 4.1, 4.2 5.1,5.2 ,5.6 - วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า - การทดสอบย่อย - การอภิปรายกลุ่ม วิเคราะห์กรณีศึกษา และหาแนวทางแก้ไขปัญหา - การทำงานกลุ่มตามมอบหมาย - การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
2 2.1, 2.2, 2.3 -สอบกลางภาค 9 30%
3 2.1, 2.2, 2.3 -สอบปลายภาค 17 30%
4 1.1, 1.2 ,1.3 1.6 การเข้าชั้นเรียนและการเข้าร่วมกิจกรรมทางมหาวิทยาลัย ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. มณฑลี ศาสนนันทน์ (2552).การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี.ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
2. ไพโรจน์ ปิยะวงศ์วัฒนา (2561).การจัดการเชิงกลยุทธ์เทคโนโลยีและนวัตกรรม.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
3. นพดล เหลืองภิรมย์ (2557).การจัดการนวัตกรรม.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
-
 - เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชาที่กำหนด และห้องสมุดมหาวิทยาลัย
การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาหลักการบริหารที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและ ข้อแสดงความคิดเห็นของนักศึกษา ดังนี้ 1.การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 2.แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 1. ผลการเรียนของนักศึกษา 2. การทบทวนผลการประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการปรับปรุงการสอน
-
-