กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อทำงานวิจัยและการสร้างนวัตกรรม

Scientific Methods for Research and Innovation

มุ่งเสริมสร้างให้ผู้เรียนมีทักษะทางปัญญา มีความคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างเป็นระบบ มีความรู้สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีทักษะความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ใฝ่รู้ แสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง สามารถรู้ทันโลกและนำไปประยุกต์ได้อย่างเหมาะสม
ศึกษาและพัฒนาทักษะทางด้านการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์และสรุปผล โดยใช้กระบวนการทางด้านวิทยาศาสตร์เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับผู้เรียนในการยำทักษะไปประยุกต์ใช้ในการวิจัยหรือสร้างสรรค์นวัตกรรม
6 คาบต่อสัปดาห์
ส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ไปพร้อมกับวิทยาการต่างๆ ดังนี้
-มีจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม
-มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
-มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
-เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
-ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย เข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา
-สอดแทรกและส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม
-ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ สนับสนุนให้นักศึกษาเข้าร่วมในการให้บริการวิชาการและวิชาชีพแก่สังคม
-ปลูกฝังจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
-ยกย่องนักศึกษาที่ทำความดีและเสียสละ
ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา และการปฏิบัติตนในด้านต่างๆ ได้แก่
-การเข้าชั้นเรียนตรงเวลา การส่งงานตามกำหนดเวลา และการเข้าร่วมกิจกรรม
-ความมีวินัยและความใส่ใจในการเข้าร่วมกิจกรรม
-ความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
-ความซื่อสัตย์สุจริตในงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
-มีความรู้และความเข้าใจในเนื้อหาที่ได้ศึกษา
-สามารถติดตามความก้าวหน้า ใฝ่รู้ทางวิชาการและเทคโนโลยี
-สามารถบูรณาการความรู้กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ใช้รูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
-ทดสอบย่อย
-สอบกลางภาคและปลายภาค
-รายงาน
-งานที่ได้รับมอบหมาย
-การนำเสนองานในชั้นเรียน
 
-มีทักษะจากการประยุกต์ความรู้ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
-มีทักษะในการใช้ความรู้และความคิดอย่างเป็นระบบ
ใช้รูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ประเมินผลจาก
-การประยุกต์ความรู้เพื่อนำไปใช้อย่างเหมาะสม
-การนำเสนองาน
-มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
-มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
-สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
-สามารถใช้ความรู้มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
กำหนดกิจกรรมกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่น 
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษา
-เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม
-สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
-ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะและสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
-ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร
-ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาข้อมูล
-ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการนำเสนอผลงาน
-ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับขนบธรรมเนียมปฏิบัติของสังคม
-ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการติดต่อสื่อสาร
-ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือเพื่อการค้นคว้าหาข้อมูล
-ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือเพื่อการนำเสนอผลงาน
-จรรยามารยาทในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์และวัฒนธรรมสากล
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านปัญญา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 GEBSC303 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อทำงานวิจัยและการสร้างนวัตกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล