เคมีเบื้องต้นสำหรับอุตสาหกรรมเกษตร

Basic Chemistry for Agro - Industry

วัตถุประสงค์ของรายวิชา : เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้

1.1 เข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
1.2 เข้าใจในเรื่องพันธะเคมี สารละลาย กรด เบส เกลือ ปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีและสมดุลเคมี สเตอริโอเคมี สารประกอบไฮโดรคาร์บอนและอนุพันธ์
1.3 รู้จักอุปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติการทางเคมี
1.4 มีทักษะในการใช้อุปกรณ์ และเครื่องมือในการปฏิบัติการทางเคมี
1.5 พัฒนาทักษะและจิตพิสัยในการปฏิบัติงานด้านการทดลองที่เป็นระบบ
มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาให้ทันสมัยและเป็นปัจจุบัน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ  พันธะเคมี  สารละลาย  กรด  เบส
เกลือ  ปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีและสมดุลเคมี  สเตอริโอเคมี สารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอนและอนุพันธ์
 
Study and practice of  Atomic structure and Periodic table,  Chemical bond, Solution, Acid-Base, Salt, Chemical reactions, Rate of chemical reaction and  Chemical equilibrium, Stereochemistry, Hydrocarbon compound and derivatives.
    3.1 วันพุธ  เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องพักอาจารย์สาขาวิทยาศาสตร์ โทร... 054- 342547 ต่อ 168
    3.2  กลุ่มเรียนใน line ทุกวัน
 
1.3 ) มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์  การตรงต่อเวลาที่กำหนด และแนะนำถึงผลดีของการตรงต่อเวลา  ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์  อาจารย์ผู้สอนปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง ให้นักศึกษามีระเบียบวินัยในการเข้าชั้นเรียน โดยอาจารย์เข้าชั้นเรียนตรงต่อเวลา และเลิกชั้นเรียนตรงต่อเวลา
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงเวลา      
2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย  ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบปรนัย
ประเมินจากการตอบปัญหาในชั้นเรียน  การสอบย่อย (Quiz)  การสอบกลางภาคและปลายภาค  และการนำเสนอผลงานทั้งแบบรายบุคคลและกลุ่ม
 มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา  หรืองานอื่นๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ
 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์
 ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา ศึกษาจากประเด็นปัญหาที่กำหนดไว้แล้ว โดยแบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่ม ภายในกลุ่มจะต้องกำหนดแนวทางไปสู่การแก้ปัญหาหรือเสนอแนวทางปฏิบัติที่มีความน่าเชื่อถือและความเป็นไปได้
ประเมินจากการตอบปัญหาในชั้นเรียน  การสอบย่อย (Quiz)  การสอบกลางภาคและปลายภาค  และการนำเสนอผลงานทั้งแบบรายบุคคลและกลุ่ม
มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองเเละรับผิดชอบงานในกลุ่ม
 สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สอนโดยมีกิจกรรมเสริมในชั้นเรียน มีกิจกรรมทำงานเป็นกลุ่ม และมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามภาระงานที่มอบหมาย
การประเมินจากการแสดงออกอย่างมีส่วนร่วมในชั้นเรียน และประเมินผลงานจากรายงานของนักศึกษาทั้งแบบรายบุคคลและรายกลุ่ม
5.2 สามารถสรุปประเด็นและสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้  Power point  
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเมินจากรายงาน การนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงานของนักศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.3 ) มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา 3.1มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่นๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ 3.2สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์ 4.1มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองเเละรับผิดชอบงานในกลุ่ม 4.2สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.2สามารถสรุปประเด็นและสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 FUNSC211 เคมีเบื้องต้นสำหรับอุตสาหกรรมเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา 1-16 5%
2 3.1 3.2 4.1 4.2 5.2 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 20%
3 2.1 ทดสอบระหว่างเรียน/สอบกลางภาค/สอบปลายภาค 4, 6, 8, 9, 11, 13, 17 50%
4 3.1, 3.2, 4.1, 4.2, 5.2 การนำเสนองาน/การรายงาน สัปดาห์ที่มีการนำเสนอผลงานนักศึกษา 25%
. กฤษณา ชุติมา. 2539. หลักเคมีทั่วไป เล่ม . จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. กฤษณา ชุติมา. 2539. หลักเคมีทั่วไป เล่ม 2. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. ทบวงมหาวิทยาลัย. 2533. เคมีเล่ม 1. อักษรเจริญทัศน์, กรุงเทพฯ. ทบวงมหาวิทยาลัย. 2533. เคมีเล่ม 2. อักษรเจริญทัศน์, กรุงเทพฯ. นภดล ไชยคำ. 2543. เคมี เล่ม 1. แมคกรอ-ฮิล, กรุงเทพฯ. นภดล  ไชยคำ.  2543.  เคมี เล่ม 2.  แมคกรอ-ฮิล,  กรุงเทพฯ. ประเสริฐ  ศรีไพโรจน์.  2545.  เคมีพื้นฐานเล่ม 1.  สุพีเรียพริ้นติ้งเฮาส์,  กรุงเทพฯ. วิโรจน์  ปิยวัชรพันธุ์.  2541.  เคมีทั่วไป 1.  โอเดียนสโตร์,   กรุงเทพฯ. ลัดดา  มีศุข.  2545.  เคมีทั่วไป เล่ม 1 ฉบับรวบรัด.  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,  กรุงเทพฯ.  
สุนันทา  วิบูลย์จันทร์.  2545.  เคมี: วิชาแกนทางวิทยาศาสตร์.  เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า,  กรุงเทพฯ
บทความเกี่ยวกับเคมีในด้านต่างๆ จากเว็บไซต์ต่างๆ  และอื่นๆ ตามความเหมาะสมของเหตุการณ์และความเป็นปัจจุบัน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา      ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ผลการเรียนของนักศึกษา
แผนกวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา  มีการประชุมอาจารย์ในแผนกวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
หลักสูตรมีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา  โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 25% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของหลักสูตร ภายในรอบเวลาหลักสูตร
หลักสูตรมีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหลักสูตร เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป