การออกแบบระบบดิจิทัล

Digital Systems Design

นักศึกษาเข้าใจหลักการลดรูปสมการ ออกแบบ Compbination and Sequential Circuit และองค์ประกอบของหน่วยความจำ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ การลดรูปสมการ K-Map, Variable Entrant Map (VEM)   เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ การออกแบบวงจรประกอบ และวงจรลำดับ เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ องค์ประกอบของหน่วยความจำ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติ ด้านการออกแบบระบบดิจิทัล ผังคาร์โน, ขั้นตอนวิธีลดรูปนิพจน์ตรรกศาสตร์แบบ Quine-McCluskey, แผนผังการป้อนตัวแปร วงจรคอมไบเนชั่นลอจิก วงจรซีเควนเซียลลอจิก องคฺประกอบของหน่วยความจำ
อาจารย์ประจํารายวิชา ประกาศเวลาให้คําปรึกษาแก่นักศึกษา อาจารย์จัดเวลาให้คําปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 พัฒนาผู็เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ
1.1.2 เคารพในบทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ทําหน้าที่ออกแบบ และผู้ที่เกี่ยวข้อง
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับงานของ ผู้ทําหน้าที่ออกแบบระบบดิจิทัล และผู้ที่เกี่ยวข้อง
1.2.2 อภิปรายกลุ่ม
1.2.3 กําหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง
12.4 บทบาทสมมติ
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นํามาทํารายงานอย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4 ประเมินผลการนําเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1.1 ระบบตัวเลขและรหัส
2.1.2 พีชคณิตบูลีน การลดทอนฟังก์ชันลอจิก
2.1.3 การออกแบบวงจรลอจิกคอมไบเนชัน
2.1.4 วงจรซีเควนเชียลเบื้องต้น
2.1.5 การออกแบบวงจรซีเควนเชียลแบบเข้าจังหวะ
2.1.6 การออกแบบวงจรซีเควนเชียลแบบไม่เข้าจังหวะ
2.1.7 หน่วยคำนวณ และลอจิกด้านคณิตศาสตร์ในระบบดิจิทัล
2.1.8 แปลงสัญญาณดิจิทัลเป็นแอนะล็อก และแอนะล็อกเป็นดิจิทัล
2.1.9 การประยุกต์ใช้วงจรดิจิทัลในงานอุตสาหกรรม
2.1.10 อุปกรณ์ดิจิทัลสมัยใหม่
2.2.1 บรรยายเนื้อหารายวิชา
2.2.2 การทํางานกลุ่ม การนําเสนอและอภิปราย
2.2.3 มอบหมายให้อ่าน และศึกษาจากบทความ
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบ
2.3.2 Workshop or Practice Report (group)
2.3.3 Assignment (individual)
3.1.1 พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้งานวงจรดิจิทัลและลอจิก
3.2.1 บรรยายเนื้อหารายวิชา
3.2.2 การทํางานกลุ่ม การนําเสนอและอภิปราย
3.2.3 มอบหมายให้อ่าน และศึกษาจากบทความ
3.2.4 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบ
3.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบ
3.3.2 Workshop or Practice Report (group)
3.3.3 Assignment (individual)
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นําและผู้ตามในการทํางานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกําหนดเวลา
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่ม มอบหมายงานรายกลุ่ม การนําเสนอและอภิปราย เช่น การสร้าง กระบวนการต่างๆ ของการควบคุมและการออกแบบระบบ
4.3.1 รายงานที่นําเสนอ และพฤติกรรมการทํางานเป็นทีม
4.3.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบ
5.1.1 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทํารายงาน และนําเสนอในชั้นเรียน
5.1.2 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา และการสืบค้น ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
5.1.3 ทักษะในการนําเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่ม มอบหมายงานรายกลุ่ม การนําเสนอและอภิปราย เช่น การสร้างกระบวนการต่างๆ ของการควบคุมและบํารุงรักษาชิ้นงาน
5.3.1 รายงานที่นําเสนอ และพฤติกรรมการทํางานเป็นทีม
เน้นไปที่การสร้างทักษะการปฏิบัติงานทางวงจรดิจิทัล ดังข้อต่อไปนี้
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
ฝึกปฏิบัติการทดลองวงจรดิจิทัล โดยใช้โปรแกรม Digital Circuit Simulation
สังเกตขั้นตอนปฏิบัติงานและความเชี่ยวชาญในการออกแบบและทดลองใบงานวงจรดิจิทัล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล