การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ

Cloud Computing

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่างๆ ดังนี้
1.1 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประมวลผลแบบคลาวด์
1.2 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประมวลผลแบบคลาวด์
1.3 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความปลอดภัยของการประมวลผลแบบคลาวด์
1.4 มีทักษะการใช้งานการประมวลผลแบบคลาวด์กับการเชื่อมต่อสิ่งของผ่านอินเทอร์เน็ต
 
เพื่อให้ทราบถึงหลักการกรทำงานของการประมวลผลแบบคลาวด์ การให้บริการ ความปลอดภัย การเชื่อมต่อสิ่งของผ่านอินเทอร์เน็ต ซึ่งจะเป็นพื้นฐานในการศึกษารายวิชาในระดับสูงขึ้นในสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ต่อไป
ศึกษาและฝึกกปฏิบัติเกี่ยวกับการประมวลผลแบบก้อนเมฆการบริหารและกระจาย ทรัพยากร การประมวลผลเสมือน การประมวลผลการให้บริการแบบซอฟต์แวร์ฺ การ ให้บริการแพลตฟอร์ม การให้บริการโครงสร้างพื้นฐาน การบริการระบบจัดเก็บ ข้อมูล ฝึกปฏิบัติการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนกลุ่มเมฆ การจําลององค์กร การ โยกย้ายระบบไปอยู่บนกลุ่มเมฆ อนาคตของการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ
Study and practice about cloud computing principles, resource distribution and management, virtual processing, software as a service (SaaS), platform as a service (PaaS), infrastructure as a service (IaaS), and network attached storage ( NAS). Practice in cloud application development, virtual organization, data migration and cloud computing trends
วันอังคาร พุธ พฤหัสบดี เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องพักอาจารย์ CB201 โทร. 0841517164
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟแวร์  และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา  มีความซื่อสัตย์ในบริหารจัดการคลาวด์ อย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้ ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ วิธีการสอน  บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมบนเว็บไซต์ ร่วมทั้งนำเว็บไซต์ยอดนิยมที่ได้รับความสนใจมาเป็นกรณีศึกษา อภิปรายกลุ่ม/ทำงานเดี่ยว/กลุ่ม หรือ ทำเว็บไซต์ส่วนตัวส่งเป็นชิ้นงาน นำเสนองานระบบเว็บไซต์ที่สามารถเชื่อมต่อกับฐานข้อมูลได้เพื่อเป็นชิ้นงาน 1.3 วิธีการวัดและประเมินผล
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษาจากโปรแกรมที่นักศึกษาเขียนตามการใช้งานจริง ประเมินผลงานการพัฒนาเว็บไซต์หน้าห้องเรียนและให้สมาชิกสอบถามและแนะนำ
บรรยาย อภิปราย ฝึกปฏิบัติ การทำงานกลุ่ม การนำเสนอใบงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษาจากงานการใช้งานแอปพลิเคชันตามที่มอบหมายหรือข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
โดยนำมาสรุปเป็นโปรแกรมและนำเสนอ โดยเป็นโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 ทดสอบปฏิบัติย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการทางปฏิบัติงานการใช้งานแอปพลิเคชันและทฤษฏีเนื้อหา
2.3.2 ประเมินจากการใช้งานแอปพลิเคชันตามที่มอบหมาย และนำเสนอผลการทำงานของแอปพลิเคชันจากกรณีศึกษาที่นักศึกษาค้นคว้าและสร้างเอง หรือมีโจทย์จาก Problem – based Learning จากชีวิตประจำวัน
มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหา สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์ มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง  และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้อง                     2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์           2.1.2  สามารถวิเคราะห์ปัญหาเข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์รวมทั้ง ประยุกต์ความรู้ทักษะและการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญูหา           2.1.3  สามารถวิเคราะห์ออกแบบติดตั้งปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่างๆ ของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ตรงตามข้อกำหนด           2.1.4  สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์รวมทั้งการนำไปประยุกต์           2.1.5  รู้เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง           2.1.6  มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและ เข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ           2.2.7  มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง           2.2.8  สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย อภิปราย ฝึกปฏิบัติ การทำงานกลุ่ม การนำเสนอใบงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษาจากงานการใช้งานแอปพลิเคชันตามที่มอบหมายหรือข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปเป็นโปรแกรมและนำเสนอ โดยเป็นโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 ทดสอบปฏิบัติย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการทางปฏิบัติงานการใช้งานแอปพลิเคชันและทฤษฏีเนื้อหา
2.3.2 ประเมินจากการใช้งานแอปพลิเคชันตามที่มอบหมาย และนำเสนอผลการทำงานของแอปพลิเคชันจากกรณีศึกษาที่นักศึกษาค้นคว้าและสร้างเอง หรือมีโจทย์จาก Problem – based Learning จากชีวิตประจำวัน
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ ขั้นตอน มีการวิเคราะห์แนวคิดอย่างมีขั้นตอนตามมาตรฐานการใช้งานคลาวด์  เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการใช้เทคโนโลยีให้ถูกต้อง 3.1.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ 3.1.2 สามารถสืบค้นตีความและประเมินสารสนเทศเพื่อให้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 3.1.3 สามารถรวบรวมศึกษาวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 3.1.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่าง        เหมาะสม
3.2.1 การมอบให้นักศึกษาเขียนโปรแกรมพัฒนาแอปพลิเคชันที่ได้ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาจากการที่นักศึกษาได้ค้นคว้าเอง และนำเสนอผลงานของตนเอง 3.2.2 อภิปรายลักษณะการใช้งานแอปพลิเคชัน 3.2.3 วิเคราะห์กรณีศึกษา  ในการนำเทคโนโลยีภาษาการเขียนโปรแกรมอย่างที่เหมาะสม 3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติและการปฏิบัติงานของนักศึกษาโดยออกใน รูปแบบผลงานนักศึกษาที่ได้ปฏิบัติจริง
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการใช้งานแอปพลิเคชันแนวคิดแก้ปัญหาทางการเขียนโปรแกรม  วิเคราะห์โจทย์   3.3.2 วัดผลจากการประเมินงานการใช้งานแอปพลิเคชันการนำเสนอผลงานของนักศึกษา 3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหาระหว่างปฏิบัติงาน
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
            4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและ ภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ           4.1.2 สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกเเก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำหรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน           4.1.3  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม           4.1.4  มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม           4.1.5  สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวมพร้อม ทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม           4.1.6  มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง คุณสมบัติต่างๆนี้สามารถวัดระหว่างการทำกิจกรรรมร่วมกัน
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา 4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การทำใบงาน และวิเคราะห์โจทย์นำมาเขียนโปรแกรมได้ ทั้งตัวอย่างในชีวิตประจำวันนำมาเขียนเป็นโปรแกรมได้ 4.2.3   การนำเสนอผลงานการใช้งานแอปพลิเคชัน
 
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด 4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานของนักศึกษา 4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
5.1.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์      5.1.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์      5.1.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียนเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม      5.1.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อหรืออย่างเหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และสร้างใช้งานแอปพลิเคชันตามแนวคิดมาเป็นรูปแบบผลงานซอฟต์แวร์  และทำรายงานรูปเล่มรวบรวมผลงานโดยเน้นการสร้างแอปพลิเคชันให้ถูกต้องตามมาตรฐานสากล และเป็นที่ยอมรับของผู้ใช้งานการใช้งานแอปพลิเคชัน 5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีการสร้างแอปพลิเคชันที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน ผลงาน  และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยีนำเสนอตามผลงานในลักษณะงานของนักศึกษา 5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปราย  วิธีการตอบ และการเขียนโปรแกรมสร้างแอปพลิเคชัน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4
1 BSCCT605 การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
https://docs.aws.amazon.com/ec2/index.html?nc2=h_ql_doc_ec2
- แบบประเมินความพึงพอใจการเรียนการสอน โดยมหาวิทยาลัย   - การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
- การพิจารณาผลการเรียนของนักศึกษา - การพิจารณาผลงานที่มอบหมาย
หลังจากทราบผลการประเมินการสอน จึงมีการปรับปรุงการเรียนการสอน โดย - รวบรวมปัญหาการเรียนของนักศึกษาและแนวทางแก้ไข โดยพิจารณาจากประเด็นในการประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนของนักศึกษา - การจัดทำและพัฒนาเอกสารประกอบการสอน
- มีการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักศึกษา เพื่อนำไปพัฒนาการเรียนรู้ของตนเอง - ให้นักศึกษามีโอกาสตรวจสอบคะแนนก่อนรายงานผลการเรียน 
พิจารณาผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา และวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น เช่น การปรับปรุงเนื้อหา ตัวอย่างที่ใช้ในการเรียนการสอนให้ทันต่อเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป