ความคิดสร้างสรรค์เพื่อการออกแบบ

Creative Thinking for Design

1.1  รู้และเข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับแรงบันดาลใจ
    1.2  รู้และเข้าใจเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์
    1.3  รู้และเข้าใจทฤษฎีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมโนทัศน์
    1.4  มีทักษะการสร้างแรงบันดาลใจในการออกแบบ
    1.5  มีทักษะการคิดสร้างสรรค์เพื่อการออกแบบ
    1.6  มีทักษะการสร้างแผนภูมิมโนทัศน์
    1.7  มีทักษะการสร้างกรอบแนวคิดเพื่อการสร้างสรรค์ผลงาน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานด้านความคิดสร้างสรรค์เพื่อการออกแบบ เป็นการเตรียมความพร้อมการสร้างกรอบแนวคิดเพื่อการสร้างสรรค์ผลงาน การนำความรู้ ความเข้าใจ  เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ    ได้แก่  การออกแบบผลิตภัณฑ์  และโครงงานออกแบบผลิตภัณฑ์
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความหมาย องค์ประกอบ ประเภท แรงบันดาลใจในการออกแบบ และความสำคัญของความคิดสร้างสรรค์ กระบวนการของความคิดสร้างสรรค์ เทคนิคในการใช้ความคิดสร้างสรรค์ การทำแผนผัง ความคิด และกระดานความคิด ในการกำหนดกรอบคิดสร้างสรรค์ผลงาน การใช้ความคิดสร้างสรรค์ในงานออกแบบรูปทรง ลวดลาย การนำเสนอความคิดเป็นภาพ และ การนำไปประยุกต์ใช้ในงานออกแบบ
 -    อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
           1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
           1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
           1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
           1.1.4 เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
มีความรู้และเข้าใจวิธีการคิด ระบบการคิด กระบวนการคิด กระบวนทัศน์ทางการคิดเพื่อการออกแบบ
            2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
            2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้า ใฝ่รู้ ทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
            2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย  ยกตัวอย่าง และปฏิบัติงานโครงงาน Problem – based Learning
2.3.1   สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการปฏิบัติงาน หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
         3.1.1 มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
         3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1   บรรยาย และการให้นักศึกษาปฏิบัติโครงงานที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา
3.2.2   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1   สอบปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการเขียนแบบ
3.3.2   วัดผลจากการประเมินชิ้นงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
           4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
           4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
           4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.2   การนำเสนอรายงาน
4.3.1  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.2  ประเมินจากงานที่มอบหมาย  
           5.1.1 เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม
           5.1.2 สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
           5.1.3 ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะและ
สอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
           6.1.1 มีทักษะด้านการออกแบบผลงานและใช้เครื่องมือปฏิบัติงานสองมิติและงานสามมิติ
           6.1.2 มีทักษะในการสร้างสรรค์ผลงาน
           6.1.3 มีทักษะด้านแนวคิดทางการออกแบบ ด้านความงาม หรือด้านประโยชน์ใช้สอย
6.2.1 ศึกษาข้อมูลเพื่อสร้างแนวคิดในการออกแบบ
            6.2.2 การอภิปรายกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
            6.2.3 ให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติสร้างผลงานสองมิติและสามมิติรวมทั้งนำเสนอผลงาน
           6.3.1 ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากผลงานปฏิบัติของนักศึกษาที่มอบหมาย
           6.3.2 แนวคิดในการออกแบบผลงาน
           6.3.3 กระบวนการทำงานตามขั้นตอนของการสร้างสรรค์ผลงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3.1, 3.3.1, สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 15% 15%
2 2.3.2, 3.3.2, 3.3.3, 4.3.1, 4.3.2, 5.3.1, 5.3.2 การปฏิบัติงานและผลงาน โครงงาน (Project-Based Learning ตลอดภาคการศึกษา ปลายภาคการศึกษา 50% 10%
3 1.3.1 การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคการศึกษา 10%
http://www.novabizz.com/NovaAce/Intelligence/Thinking_is.htm
          พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 .  2551.  พจนานุกรมออนไลน์. [ออนไลน์].
          http://www.gotoknow.org/blogs/posts/7305
          http://towpimay.multiply.com/journal/item/153/153
          http://std.kku.ac.th/4970500100/phd/sn/concept%20map.pdf
          http://classes.aces.uiuc.edu/ACES100/Mind/CMap.html
         http://www.prachasan.com/cmap/formcmap.html
          นวลน้อย  บุญวงษ์ (2539).  หลักการออกแบบ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
          นิรัช  สุดสังข์ (2548).  ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
          ธีระชัย  สุขสด  (2544). การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
          อารี พันธ์มณี (2540). คิดอย่างสร้างสรรค์.  กรุงเทพฯ : ต้นอ้อ แกรมมี จำกัด.
           “………..” เทคนิคการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ : Thinking for success
          http://journey166.blogspot.com/2007/09/2.html
          http://202.29.53.20/2513302/soc06/topic12/linkfile/print5.htm
          พรเทพ เลิศเทวศิริ. Design Education 1 รวมบทความและรายงานการวิจัยศาสตร์แห่งการออกแบบ. กรุงเทพฯ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545.
         Nagamachi, M. Kansei  Engineering :  A new ergonomic consumer-oriented  technology  for  product development. 
   International  Journal  of  In  dustrisl  Ergonomics. 15 (1995)  P.3-11 Osgood, C.E., Suci, G.J. and  Tannenbaum, P.H., The  Measurement  of  Meaning.  LLLinois  Press. 1957. Kobayashi, S. Colorist. Kodansha International. Japan. 1998.
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำรายงาน
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์