การออกแบบโรงงานอาหารและแบบจำลองกระบวนการ

Food Plant Design and Process Modeling

เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจหลักการออกแบบโรงงานอาหาร การเลือกทําเลที่ตั้ง และการวางผังโรงงานให้สอดรับกับกระบวนการผลิต และสิ่งสนับสนุนการผลิตตามหลักเกณฑ์การออกแบบโรงงานอาหาร
เพื่อปรับปรุงเนื้อหาและกิจกรรมให้เหมาะสมกับพื้นฐานของผู้เรียน และเพื่อเพิ่มเติมสื่อการเรียนการสอนให้เข้ากับตำราเรียน ที่มีตัวอย่างที่ทันสมัยและน่าสนใจมากขึ้น
เทคนิคการออกแบบและการวางผังโรงงาน ที่ตั้งโรงงาน การวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ ปัจจัยและสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อผังใหม่ การเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาและการนำเสนอผังโดยพิจารณาถึงคนงาน อุปกรณ์ เครื่องจักร อุปกรณ์สนับสนุนการผลิต ระบบการเคลื่อนย้ายวุสดุการเก็บตลอดจนสภาพแวดล้อม
          อาจารย์ผู้สอน แจ้งเวลาให้นักศึกษามาปรึกษานอกตารางเรียนในครั้งแรกของการเรียนการสอนโดยจัดสรรเวลาให้อย่างน้อย 1 คาบต่อสัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางต่างๆ ต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพและมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึง เข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพ
         1.2.1  กําหนดใหมีวัฒนธรรมองคกรเพื่อเปนการปลูกฝงใหนักศึกษามีระเบียบวินัย
          1.2.2  เนนการเขาชั้นเรียนใหตรงเวลา ตลอดจนการแตงกายที่เปนไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ
          1.2.3  สอดแทรกและสงเสริมดานคุณธรรม จริยธรรมในทุกรายวิชา และสงเสริมใหนักศึกษามีจิตสาธารณะ    
          1.2.4  สนับสนุนใหนักศึกษาเขารวมในการใหบริการวิชาการและวิชาชีพแกสังคม ปลูกฝงจิตสํานึกในการอนุรักษสิ่งแวดลอม ยกยองและเชิดชูนักศึกษาที่ทําความดีและเสียสละ
ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาและการปฏิบัติตนในดานตาง ๆ ไดแก
1.3.1  การตรงเวลาของนักศึกษาในการเขาชั้นเรียน การสงงานตามกํ าหนดระยะเวลา ที่มอบหมาย และการเขารวมกิจกรรม
1.3.2  ความมีวินัยและความใสใจของนักศึกษาในการเขารวมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
1.3.3  ความรับผิดชอบในหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย
1.3.4 ความซื่อสัตยสุจริตในการทํางานที่ไดรับมอบหมายและการสอบ
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมการผลิตและอุตสาหกรรมอาหาร
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษาของสาขาวิชาเฉพาะด้านการผลิตและนวัตกรรมอาหาร
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
2.1.5 สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ (Active Learning) ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดยให้โจทย์การออกแบบโรงงานอุตสาหกรรมอาหารเน้นให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม ลงมือปฏิบัติในชั้นเรียน การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning) การสอนแบบ ศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต อภิปรายร่วมกัน แลกเปลี่ยนความคิดเห็น  ใช้การสอนโดยการฝึกปฏิบัติจริงในเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร เพื่อสร้างความเข้าใจให้กับนักศึกษา โดยให้โครงงานขนาดเล็ก (mini project) เพื่อเป็นเครื่องมือการเรียนรู้ตลอดภาคการศึกษา
2.3.1   ประเมินจากการนำเสนอความก้าวหน้าโครงการในแต่ละสัปดาห์
2.3.2   พิจารณาจากงานที่มอบหมาย รายงานความก้าวหน้า และรายงานฉบับสมบูรณ์
  3.1.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดีและอย่างเป็นระบบ
  3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมการผลิตและนวัตกรรมอาหารได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.1.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเองเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ
ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ และเรียนแบบการใช้โครงงานเป็นฐาน (Project based Learning) มุ่งเน้นให้นักศึกษารู้จักวิเคราะห์องค์ประกอบของ สถานการณ์ต่าง ๆโดยใช้บทบาทสมมติสถานการณ์จําลอง และกรณีศึกษา เพื่อเป็นตัวอย่างให้นักศึกษา ได้ฝึกวิเคราะห์แนวทางแก้ไขให้ถูกต้อง และให้โจทย์นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา ได้แก่
          3.3.1 บทบาทสมมติหรือสถานการณ์จําลอง
          3.3.2 การเลือกใช้วิธีการเพื่อแก้ไขปัญหาในบริบทต่างๆ
          3.3.3 การนําเสนอรายงานในชั้นเรียน
          3.3.4 การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทผู้นำและผู้ร่วมทีมทำงาน สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบสามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความ ปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ทำงานทั้งกลุ่มและเดี่ยว ให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการกำหนดโจทย์กำหนดบทบาทในการทำงาน และให้นำเสนอผลงาน รวมทั้งให้นักศึกษามีบทบาทในการให้ความเห็นกับผลงานของคนอื่น หรือกลุ่มอื่น
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา ได้แก่
4.3.1  พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนําเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน
4.3.2  พฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
สามารถใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ตลอดจนทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการ แก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพเพื่อประโยชน์ต่อวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์

สามารถนำเสนอผลงานโดยใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการ และไม่เป็นทางการในวิชาชีพได้อย่างเหมาะสม
ดําเนินการสอนดวยกิจกรรมที่นักศึกษาตองติดตอสื่อสาร คนควาหาขอมูล และนําเสนอผลจาก การคนควาโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใหเกิดการเรียนรูดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้
5.2.1  ใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปนเครื่องมือในการติดตอสื่อสาร
5.2.2  ใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปนเครื่องมือในการคนควาหาขอมูล
5.2.3 ใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปนเครื่องมือในการนําเสนอผลงาน
5.2.4 ใชเทคโนโลยีสารสนเทศไดอยางถูกตอง เหมาะสมกับขนบธรรมเนียมปฏิบัติของ สังคมแตละกลุม

การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา ดังนี้
          5.3.1 ความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการติดตอสื่อสาร
          5.3.2 ความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาคนควาหาขอมูล
          5.3.3 ความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการนําเสนอผลงาน
          5.3.4 จรรยามารยาทในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางเหมาะสมกับสถานการณและ วัฒนธรรมสากล
นักศึกษามีความสามารถพัฒนาตนเองได้ และปรับเปลี่ยนบุคลิกภาพของตนเอง โดยนักศึกษาต้องมีคุณสมบัติต่าง ๆ จากทักษะการปฏิบัติ ดังนี้
            6.1.1 มีทักษะวิชาชีพในการปฏิบัติงานตามสมรรถนะวิชาชีพที่สถานประกอบการต้องการ
6.1.2 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และสามารถบูรณาการความรู้ที่เรียนมาเพื่อพัฒนาต่อยอดทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนางานได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
            6.1.3  มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพของตนเอง
ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพของนักศึกษา
           ก
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงาน และทักษะการปฏิบัติของนักศึกษา ดังนี้       
           6.3.1 จากประสิทธิภาพในทักษะการปฏิบัติ ความถูกต้อง
           6.3.2 การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าและความสามารถในการตัดสินใจ
           6.3.3 พฤติกรรมที่แสดงออกในการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 5 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3
1 ENGFI109 การออกแบบโรงงานอาหารและแบบจำลองกระบวนการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 ,2.1, 3.1, 4.1, 5.1 Mid-term exam Final exam 9 18 20% 20%
2 2.1, 3.1 Presentation and Report Throughout this semester 50%
3 1.1 Class attendance Group participation and discussion in class Throughout this semester 10%
Lopez-Gomez, A., G. V. Barbosa-Canovas.  2005.  Food Plant Design.  CRC Press.
Fellows, P. 1988. Food Processing Technology: Principles and Practice. Ellis Horwood, Singapore.
ธีรวัลย์  ชาญฤทธิเสน และ วันเพ็ญ  จิตรเจริญ. 2536. การควบคุมคุณภาพอุตสาหกรรมอาหาร. สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ลำปาง.136 หน้า.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

ข้อเสนอแนะของนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตพฤติกรรมจากการทำกิจกรรมของนักศึกษา
2.2   ผลการทำกิจกรรม/งานกลุ่ม
2.3   ผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
2.4   รายงานหน้าชั้นเรียนและชิ้นงานที่มอบหมาย
ปรับปรุงการสอนให้เน้นกิจกรรมกระตุ้นกระบวนการคิดมากขึ้น โดยเป็นกิจกรรมเสริมด้าน soft skill ให้ต้นคาบ และมีการนำเสนอตัวอย่างโรงงานในวิดิโอคริปให้นักศึกษาได้เห็นแนวทาง
4.  การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1  ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2  ประเมินรายวิชาทุกปีตามแบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา