การบัญชีบริหาร

Managerial Accounting

1.1 เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับ แนวคิด หลักการและวิธีการใช้ข้อมูลต้นทุนเพื่อการตัดสินใจวางแผนและควบคุมการดำนเนิงานภายใต้สถารการณ์ที่แน่นอนและไม่แน่นอน เช่น การงบประมาณ ความสัมพันธ์และการวิเคราะห์ต้นทุน ปริมาณ และกำไร การควบคุมสินค้าคงเหลือ
1.2 เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับ แนวคิด หลักการ เกี่ยวกับระบบต้นทุนฐานกิจกรรม ระบบต้นทุนผันแปร การกำหนดราคาสินค้า ราคาโอน การประเมินการปฏิบัติงาน
1.3 เพื่อให้นักศึกษาทำการศึกษาค้นคว้า การนำข้อมูลด้านต้นทุนมาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาองค์กร
2.1 เพื่อพัฒนาความรู้ของนักศึกษาในการใช้ข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุนเพื่อการตัดสินใจ
2.2 เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีผลการเรียนรู้ที่คาดหวังให้เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี
ศึกษาการใช้ข้อมูลต้นทุนเพื่อการตัดสินใจวางแผนและควบคุมการดำเนินงานของฝ่ายบริหารภานยใต้สถานการณ์ที่แน่นอนและไม่แน่นอน เช่น การงบประมาณ การวางแผลและควบคุมสินค้าคงคลัง ความสัมพันธ์และการวิเคราะห์ต้นทุน ปริมาณ และกำไร ระบบต้นทุนฐานกิจกรรม ระบบต้นทุนรวม ระบบต้นทุนผันแปร การกำหนดราคาสินค้า ราคาโอน การประเมินผลการปฏิบัติงาน การประยุกต์ใช้การบัญชีต้นทุนและการวิเคราะห์ข้อมูลทางการบัญชีเพื่อการบริหาร
นักศึกษาสามารถเข้าพบได้ตามตารางเวลาให้นักศึกษาเข้าพบ โดยประมาณ 5 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1.1 มีความรู้และความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทักษนคติที่ดีต่อวิชาชีพ 1.2มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัยเคารพและสามารถปฏิบัติตามกฏ ระเบียบ ของมหาวิทยาลัยและสังคม 1.3สามารถบริหารเวลาและปรับวิธีชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในสังคม 1.4มีจิตสำนึกและและพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนตนอย่างมีคุณธรรม
1.สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพในเนื้อหาวิชาเรียน
2.ให้ความสำคัญในการมีวินัยการตรงต่อเวลา และการปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
3.การเรียนรู้และการสอนจากกรณีศึกษา
1.ประเมินโดยสังเกตพฤติกรรมนักศึกษาเกี่ยวกับการเข้าชั้นเรียน เรียนตรงต่อเวลา การทำงานทันตตามกำหนดและความพร้อมเพียงของการเข้าร่วมกิจกรรม
2.ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
3.สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
2.1มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฏี หลักการและวิธีการทางบัญชี 2.2มีความรู้และความเข้าใจในองค์ความรู้ด้านการบัญชี โดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม 2.3มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานด้านการบัญชีและอื่นๆ โดยใช้วีการเรียนรู้จากประสบการณ์ 2.4สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัย และวิชาชีพทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
1.สอนหลากหลายรูปแบบตามลักษณะเนื้อหารายวิชาโดยเน้นแนวคิด หลักการ ทฤษฏี และการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ เช่น การสอน แบบบรรยายและอภิปลาย เป็นต้น
2.การตอบปัญหาทางวิชาการในห้องเรียน
3.มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมุลเพื่อจัดทำรายงาน
1.ประเมินการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น งานที่ได้รับมอบหมาย การทดสอบย่อย และรายงานและการนำเสนอ
2.ประเมินจากการสอบข้อเขียน หรือ สอบปฏิบัติ
3.1สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูลและแนวคิดต่างๆ เพื่อนำมาใช้ในการระบุและวิเคราะห์ปัยหาที่ความซับซ้อนได้ด้วยตนเอง
1.ส่งเสริมการเรียนรู้ และฝึกกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบจากระดับง่ายไปสู่ระดับที่สุงขึ้นตามระดับชั้นปีโดยใช้แบบฝึกหนัด โจทย์ปัญหา กรณีศึกษาหรือสถานการณ์จำลอง
1.ประเมินจากการแก้โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา
2.ประเมินจากรายงานผล ค้นคว้า รายงานทางเอกสารและการนำเสนอหน้าชั้นเรียน และการอภิปลายผล
4.1สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ 4.2มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรได้อย่างดี 4.3มีความริเริ่มสร้างสรรค์สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหานสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำและในบทบาทของผู้ร่วมงาน 4.4มีความรับผิดชอบการพัฒนาความรู้ความสามารถทางวิชาชีพบัญชีของตนเองอย่างต่อเนื่อง
1.มอบหมายการำงานเป็นกลุ่ม
2.มอบหมายงานที่เกี่ยวข้องกับความรู้ด้านวิชาชีพโดยมีการอภิปลายแสดงความคิดเห็น
3.ให้ศึกษาการแก้ไขปัญหาจาก กรณีศึกษาต่างๆ
1.ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียน
2.สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
5.2สา
5.1มีทักษะการวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อการตัดสินใจอย่างสร้างสรรค์ในการแปลความหมายและเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาหรือข้อโต้แย้ง
มารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน รู้เลือกและใช้รูปแบบนำเสนอที่เหมาะสมกับปัญหาและกลุ่มผู้ที่แตกต่างกัน 5.3สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูลการแปลความหมาย และการสื่อสารสนเทศ
1.มอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศจากฐานข้อมูลทั้งในประเทศและต่างประเทศ
1.ประเมินจากผลงานจากการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่มอบหมายและนำเสนองานเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม
 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 5.ด้านวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะปัญญา 4.ด้านทักษระความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 5.1 มีความสามารถในการวิเคราะห์เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ รวมทั้งการใช้ความรู้ความสามารถเชิงเทคนิคในการวางแผนงาน การควบคุม การประเมินผล และการรายงานผล ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม โดยคำนึงถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ 5.2 มีความสามารถในการปฏิบัติและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางการบัญชีโดยเฉพาะเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีในปัจจุบัน เพื่อพัฒนากระบวนการทำงานด้วยวิชาชีพบัญชีให้มีประสิทธิภาพ 5.3 มีความสามารถในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน โดยเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับสถานการณ์ 1.1 มีความรู้ ความเข้าใจในหลักจริยธรรมพื้นฐานทางวิชาชีพบัญชี 2.1 มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะการปฏิบัติด้านการบัญชี เพียงพอที่จะประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน 2.2 มีความรู้ ความเข้าใจ ในศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องเพียงพอที่จะประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน 2.3 มีความรู้และความเข้าใจในการจัดทำและนำเสนอสารสนเทศทางบัญชีที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ 3.1 มีทักษะการปฏิบัติทางวิชาชีพ การประยุกต์ใช้เหตุผลในการแก้ปัญหาด้วยวิธีการที่ถูกต้องและเหมาะสม 3.2 มีความสามารถในการสืบค้นและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการที่ถูกต้องและเหมาะสม 3.3 มีความสามารถในการเรียนรู้และติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาชีพบัญชีและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลก 3.4 มีความสามารถในการใช้ดุลยพินิจในการปฏิบัติงานทางบัญชีในเรื่องที่มีความสำคัญต่อองค์กร และสามารถแสดงความคิดเห็นหรือเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา 4.1 มีความอดทน ความรับผิดชอบ ทักษะทางสังคม และจิตสาธารณะ สามารถปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ต่าง ๆ วัฒนธรรมองค์กร และการทำงานร่วมกับผู้อื่น 4.3 มีความคิดสร้างสรรค์ เพื่อการพัฒนาวิชาชีพบัญชี
1 BACAC132 การบัญชีบริหาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2,3,4,5 สอบกลางภาค สอบปลายภาค การทดสอบย่อย 8, 17 หรือสัปดาห์ที่นัดสอบ 50
2 1,2,3,4,5 การทำรายงาน และนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน สัปดาห์ที่ 17 30%
3 1,2,3,4,5 การส่งงาน ความรับผิดชอบ ความตรงต่อเวลา ความเอาใจใส่ในผลงาน พฤติกรรมการเข้าชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 20%
อ.ปัจญจพร ศรีชนาพันธ์ เอกสารประกอบการสอน วิชาการบัญชีบริหาร
PWP
www.rd.go.th
www.fap.or.th
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธิ์ ดังนี้ การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน ผลการเรียนของนักศึกษา การทวนสอบผลประเมินความรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมการระดมสมอง
และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ สัมมนาการจัดการเรียนการสอน การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ๋ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการ
เรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อยและหลังการออกผลการเรียนรายวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนความพฤติกรรม
 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ ปรัปบรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 การเปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่างๆ