การแสดงข้อมูลด้วยแผนภาพ

Data Visualization

1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับแนวคิดและหลักการการแสดงข้อมูลด้วยแผนภาพ
1.2  เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับระดับและมาตรวัดของข้อมูล
1.3 เพื่อให้นักศึกษาสามารถเก็บรวบรวมข้อมูล การเตรียมข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์ การปรับรูปข้อมูล
1.4 เพื่อให้นักศึกษาสามารถบูรณาการข้อมูล การเชื่อมโยงระบบแฟ้มข้อมูล การเชื่อมโยงระบบการจัดการ ฐานข้อมูล การสำรวจข้อมูล
1.5 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับประเภทของกราฟที่เหมาะสมกับข้อมูล
1.6  เพื่อให้นักศึกษาสามารถสร้างและจัดการแดชบอร์ด
1.7 เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้ซอฟต์แวร์ทางด้านจินตทัศน์เชิงข้อมูล
1.8  เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้จินตทัศน์เชิงข้อมูลในส่วนธุรกิจและองค์กร
-ไม่มี-
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการเรียนรู้และพัฒนาทักษะด้านการวิเคราะห์และการพัฒนาทักษะการสร้างสรรค์ภาพทางความคิด การจัดระเบียข้อมูลที่มีอยู่เพื่อใช้ในการนำไปจัดการข้อมูลการคิดวิเคราะห์ การได้มาซึ่งข้อมูล รมถึงการต่อยอดการนำเสนอข้อมูลให้ออกมาในรูปแบบของภาพเพื่อให้ข้อมูลสามารถถูกย่อยให้เข้าใจง่ายขึ้น เพิ่มความน่าสนใจหลักการแสดงข้อมูลด้วยแผนภาพ การออกแบบการแสดงข้อมูลด้วยภาพ และการใช้เครื่องมือในการแสดงข้อมูลทั้งในแบบออนไลน์และออฟไลน์
2 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์
อาจารย์ที่สอนในแต่ละรายวิชาต้องจัดการเรียนการสอนให้นักศึกษาได้เรียนรู้วิชาการควบคู่ไปกับกิจกรรมด้าน คุณธรรม จริยธรรม ดังต่อไปนี้
1. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
2. มีวินัย ตรงต่อเวลา และ มีความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
3. มีภาวะความเป็นผู้น าและผู้ตาม สามารถท างานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้ง
4.  เคารพกฎระเบียบ ข้อบังคับ สิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
5. สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้สารสนเทศต่อบุคคล/องค์กรและสังคม
1. กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ
2. ผู้สอน สอดแทรกเนื้อหาที่เกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรมในการสอนทุกรายวิชารวมถึงมีกิจกรรมส่งเสริม คุณธรรม และจริยธรรม
1. ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการร่วมกิจกรรม
2. ประเมินจากการมีวินัยและความพร้อมเพรียงของนักศึกษา ในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
3.สังเกตการณ์แสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันกับผู้สอนทุกคน
4. ผลการประเมินจากการฝึกงานโดยองค์กรที่เรียนรู้เข้าฝึกงาน
5. ปริมาณการกระทำทุกจริตในการสอบ  
1. มีความรู้ในสาขาวิชาการจัดการนวัตกรรมดิจิทัลและคอนเทนท์ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก
2.  มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
3. มีความรู้ในกระบวนการ และเทคนิคการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ในงานอาชีพ
1. การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม-ตอบ
2. มอบหัวข้อเรื่องให้ค้นคว้าและทำรายงานเดี่ยวและรายงานกลุ่ม
3. ทำรายงานเปรียบเทียบความรู้จากห้องเรียนกับการทำงานจริง ภาคปฏิบัติ
4. อภิปรายเป็นกลุ่มโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
5. การศึกษานอกสถานที่และทำรายงาน
6. สอนโดยการสาธิตและฝึกภายในห้องปฏิบัติการ
7. การสอนโดยใช้สื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์
1. การทดสอบย่อย
2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
3. ประเมินจากรายงานหรือโครงงานที่นักศึกษาจัดทำ
4. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
5. ประเมินจากรายวิชาฝึกประการณ์วิชาชีพ
1. คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
2. สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
3. สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ สามารถประยุกต์ความรู้และ ทักษะกับการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับข้อมูลและสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
1. กรณีศึกษาเกี่ยวกับสารสนเทศศาสตร์ในด้านต่างๆ
2. การอภิปรายเป็นกลุ่ม
3. การทำงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้าหรืองานที่เกี่ยวกับการสัมมนา
4. การบรรยายโดยผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ประกอบการที่มีความสำเร็จในอาชีพ กำหนดให้มีหัวข้อในรายวิชาที่ต้องใช้ ทักษะการคำนวณ การเก็บสถิติ และ/หรือ คิดวิเคราะห์
1. ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมาย
2. การสอบข้อเขียน
3. การเขียนรายงาน และ/หรือ การเขียนโครงงาน
1. สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้ อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหากลุ่ม
2. สามารถพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้มีความทันสมัยอย่างต่อเนื่อง
1. มีการกำหนดกิจกรรม การทำงานเป็นกลุ่ม ซึ่งต้องประสานงานกับผู้อื่น หรือต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการ สัมภาษณ์บุคคลอื่น หรือผู้มีประสบการณ์ เพื่อให้เรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความสามารถในการรับผิดชอบ
2. สอดแทรกประสบการณ์ และยกตัวอย่างกรณีศึกษา
1. ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน
2. ประเมินตนเอง และประเมินซึ่งกันและกัน
3. สังเกตพฤติกรรมและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
4.ผลการประเมินจากการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
1. สามารถใช้ภาษาต่างประเทศในการฟัง พูด อ่าน และเขียนได้อย่างเหมาะสมกับวิชาชีพ
2. สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร สืบค้นข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลได้อย่างเหมาะสม
3. สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางวิเคราะห์เชิงตัวเลข เช่น ตรรกวิทยา การเปรียบเทียบ การวิเคราะห์ความ สอดคล้องกับมาตรฐานต่างๆ สถิติในการประมวลผล การแปลความหมาย และการวิเคราะห์ข้อมูล เป็นต้น
1. ทดสอบระดับความรู้ภาษาอังกฤษและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศตามประกาศมหาวิทยาลัย
2. จัดให้มีห้องปฏิบัติการของสาขาวิชาการจัดการนวัตกรรมดิจิทัลและคอนเทนท์
3. ฝึกให้มีการนำเสนอผลงานที่ได้ผ่านการค้นคว้าและตรวจสอบ ในขอบเขตที่กำหนด
4. บูรณาการการใช้เครือข่ายทางสังคม และ/หรือการจัดการนวัตกรรมดิจิทัลและคอนเทนท์ ในทุกรายวิชาที่ สามารถทำได้
5. ฝึกแก้ปัญหาหรือโจทย์ที่จำเป็นต้องใช้ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลข เช่น ตรรกวิทยา การเปรียบเทียบ การวิเคราะห์ ความสอดคล้องกับมาตรฐานต่างๆ สถิติในการประมวลผล การแปลความหมาย และการวิเคราะห์ข้อมูล เป็นต้น
1. ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย การอภิปราย กรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนำเสนอในชั้นเรียน และ/หรือในสื่อสังคมออนไลน์ที่กำหนด
2. ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือการเลือกและประยุกต์ใช้เทคนิควิธีวิเคราะห์เชิงตัวเลข
1. สามารถสร้างแผนภาพได้อย่างเหมาะสมกับจุดประสงค์ในการนำเสนอ
2. สามารถจัดการข้อมูลเบื้องต้นเพื่อใช้ในการนำเสนอแผนภาพได้ 
3. สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางวิเคราะห์ข้อมูลได้
1. ฝึกให้มีการนำเสนอผลงานที่ได้ผ่านการค้นคว้าและตรวจสอบ ในขอบเขตที่กำหนด
2. ฝึกปฏิบ้ติการสร้างแผนภาพในการนำเสนอข้อมูลได้
 
1. ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย การอภิปราย แผนภาพต่างๆ ที่มีการนำเสนอในชั้นเรียน 
2. ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือการเลือกและประยุกต์ใช้เทคนิควิธีวิเคราะห์เชิงตัวเลข
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 2. มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม 3. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับ ความสำคัญ 4. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 5. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 6. สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม 7. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 1. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ\เละทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญูหา 3.สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ตรงตามข้อกำหนด 4. สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์ 5. รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง 6. มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ 7. มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง 8. สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 1. คิดอย่างมีวิจารณญาณและอยากเป็นระบบ 2. สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 3. สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 4. สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม 1. สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 2. สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่การแก่ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน 3. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 4. มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองเเละรับผิดชอบงานในกลุ่ม 5. สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม 6. มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่องคุณสมบัติต่างๆ นี้สามารถวัดระหว่างการทำกิจกรรรมร่วมกัน 1. มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2. สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ 3. สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนอ อย่าง เหมาะสม 4. สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อหรืออย่างเหมาะสม
1 BSCCT216 การแสดงข้อมูลด้วยแผนภาพ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1(1) 2.1 (1) 2.1 (1) 2.1(3) 3.1 (3) 5.1(3) ทดสอบทักษะทางด้านการปฏิบัติ 5 6 7 10 15 10
2 1.1(1) 2.1(1) 2.1(3) 3.1(3) ติดตามความก้าวหน้ากรณีศึกษาในการสร้างแผนภาพ 8 10
3 1.1(1) 2.1(1) 2.1(3) 3.1(3) สอบกลางภาค 9 30
4 1.1(1) 2.1(1) 2.1(3) 3.1(3) นำเสนอการประยุกต์ใช้แผนภาพสำหรับธุรกิจ 16 20
5 1.1(1) 2.1(1) 2.1(3) 3.1(3) สอบปลายภาค 17 30
Fundamentals of Data Visualization: A Primer on Making Informative and Compelling Figures  
ประเมินความพึงพอใจในการเรียนการสอน