เทอร์โมไดนามิกส์และของไหลในงานเครื่องจักรกลเกษตร
Thermodynamics and Fluid for Agricultural Machinery
เพื่อให้ผู้เรียนได้มีพื้นฐานงานเทอร์โมไดนามิกส์และของไหลในงานด้านเครื่องจักรกลเกษตร
เพื่อให้เกิดความสมบูรณ์ในเนื้อหาและเข้าถึงองค์ความรู้ใหม่ในปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติทางเทอร์โมไดนามิกส์ สารบริสุทธิ์ พลังงาน การเปลี่ยนรูปของพลังงาน แก๊สอุดมคติ กฎข้อที่สองของเทอร์โมไดนามิกส์ วัฏจักรทางเทอร์โมไดนามิกส์ พื้นฐานและคุณสมบัติของของไหล ความดัน แรงดันของของไหล ทฤษฎีการไหลเบื้องต้น การไหลภายในท่อ การไหลในทางน้ำเปิด
1.ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
2.มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
3.ความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับ ความสำคัญ
4.เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
5.เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
6.สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้เครื่องจักรกลเกษตรต่อบุคคลองค์กรและสังคม
7.มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
2.มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
3.ความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับ ความสำคัญ
4.เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
5.เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
6.สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้เครื่องจักรกลเกษตรต่อบุคคลองค์กรและสังคม
7.มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ นอกจากนี้ ผู้สอนต้องสอดแทรกและส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรมในทุกรายวิชา และส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ สนับสนุนให้นักศึกษาเข้าร่วมในการให้บริการวิชาการและวิชาชีพแก่สังคม ปลูกฝังจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ยกย่องและเชิดชูนักศึกษาที่ทำความดีและเสียสละ
1.ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
2.ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
3.ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
4.ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2.ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
3.ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
4.ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1.มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเครื่องจักรกลเกษตร
2.สามารถวิเคราะห์ปัญหาเข้าใจและอธิบายความต้องการทางด้านเครื่องจักรกลเกษตรรวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะและการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญูหา
3.สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบ องค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบทางด้านเครื่องจักรกลเกษตรให้ตรงตามข้อกำหนด
4.สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวัฒนาการทางด้านเครื่องจักรกลเกษตร รวมทั้งการนำไปประยุกต์
5.รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางด้านเครื่องจักรกลเกษตรอย่างต่อเนื่อง
6.มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเครื่องจักรกลเกษตร เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ
7.มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์งานทางด้านเครื่องจักรกลเกษตรที่ใช้งานได้จริง
8.สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเครื่องจักรกลเกษตรกับความรู้ในศาสตร์ อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.สามารถวิเคราะห์ปัญหาเข้าใจและอธิบายความต้องการทางด้านเครื่องจักรกลเกษตรรวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะและการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญูหา
3.สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบ องค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบทางด้านเครื่องจักรกลเกษตรให้ตรงตามข้อกำหนด
4.สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวัฒนาการทางด้านเครื่องจักรกลเกษตร รวมทั้งการนำไปประยุกต์
5.รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางด้านเครื่องจักรกลเกษตรอย่างต่อเนื่อง
6.มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเครื่องจักรกลเกษตร เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ
7.มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์งานทางด้านเครื่องจักรกลเกษตรที่ใช้งานได้จริง
8.สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเครื่องจักรกลเกษตรกับความรู้ในศาสตร์ อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และประยุกต์ทางปฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ นอกจากนี้ควรจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
การทดสอบย่อย
การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
ประเมินจากแผนธุรกิจหรือโครงการที่นำเสนอ
ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
ประเมินจากรายวิชาสหกิจศึกษา
คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อให้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางด้านเครื่องจักรกลเกษตรได้อย่างเหมาะสม
กรณีศึกษาทางการประยุกต์งานทางด้านเครื่องจักรกลเกษตร
การอภิปรายกลุ่ม
ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์ เป็นต้น
สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
สามารถให้ความช่วยเหลือ และอำนวยความสะดวกเเก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่องคุณสมบัติต่าง ๆ นี้สามารถวัดระหว่างการทำกิจกรรรมร่วมกัน
ใช้การสอนที่มีการกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่นข้ามหลักสูตร หรือต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่น หรือผู้มีประสบการณ์ โดยมีความคาดหวังในผลการเรียนรู้ดัานทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความสามารถในการรับผิดชอบ ดังนี้
1.สามารถทำงานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
2.มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
3.สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ วัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี
4.มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
มีภาวะผู้นำ
1.สามารถทำงานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
2.มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
3.สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ วัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี
4.มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
มีภาวะผู้นำ
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียนและสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ และความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของข้อมูล
มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนอ อย่าง เหมาะสม
สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อหรืออย่างเหมาะสม
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลายสถานการณ์
1.ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฏี การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติ ที่เกี่ยวข้อง
2.ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย ถึงข้อจำกัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่าง ๆ การอภิปราย กรณีศึกษาต่าง ๆ มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
2.ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย ถึงข้อจำกัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่าง ๆ การอภิปราย กรณีศึกษาต่าง ๆ มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรมจริยธรรม | 2. ด้านความรู้ | 3. ด้านปัญญา | 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ | 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1.ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต | 2. มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม | 3. มีภาวะความเป็นผู้นําและผู้ตาม สามารถทํางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและ ลําดับ ความสําคัญ | 4. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความ เป็นมนุษย์ | 5. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม | 6. มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง คุณสมบัติต่าง ๆ นี้สามารถวัดระหว่างการทํากิจกรรรมร่วมกัน | 7. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ | 1. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สําคัญในเนื้อหาสาขาวิชา เครื่องจักรกลเกษตร | 2. สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางด้านเครื่องจักรกลเกษตร รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา | 3. สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบ องค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบทางด้านเครื่องจักรกลเกษตรให้ตรงตามข้อกําหนด | 4. สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวัฒนาการทางด้านเครื่องจักรกลเกษตร รวมทั้งการ นําไปประยุกต์ | 5. รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชํานาญทางด้านเครื่องจักรกลเกษตรอย่างต่อเนื่อง | 6. มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเครื่องจักรกลเกษตร เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และ เข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ | 7. มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์งานทางด้านเครื่องจักรกลเกษตรที่ใช้งานได้จริง | 8. สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเครื่องจักรกลเกษตรกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง | 1. คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ | 2. สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อให้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค | 3. สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ | 4. สามารถประยุกตความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางด้านเครื่องจักรกลเกษตรได้ อย่างเหมาะสม | 1. สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ | 2. สามารถให้ความช่วยเหลือ และอํานวยความสะดวกเเก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นํา หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทํางาน | 3. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นําสังคมในประเด็นที่เหมาะสม | 4. มีความรับผิดชอบในการกระทําของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม | 5. สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้ง แสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม | 6. มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง คุณสมบัติต่าง ๆ นี้สามารถวัดระหว่างการทํากิจกรรรมร่วมกัน | 1. มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จําเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทํางานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ | 2. สามารถแนะนําประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดง สถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ | 3. สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการ นําเสนอ อย่างเหมาะสม | 4. สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อหรืออย่างเหมาะสม |
1 | BSCFM105 | เทอร์โมไดนามิกส์และของไหลในงานเครื่องจักรกลเกษตร |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | ผลการเรียนรู้ที่ 1 คุณธรรม จริยธรรม ผลการเรียนรู้ที่ 4 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | ร่วมกิจกรรม | 1-7 และ 9-16 | 20% |
2 | ผลการเรียนรู้ที่ 2 ด้านความรู้ ผลการเรียนรู้ที่ 3 ด้านปัญญา ผลการเรียนรู้ที่ 5 ด้านการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | เก็บคะแนนรายหน่วย ส่งงาน สอบกลางภาค สอบปลายภาค | 1-17 | 80% |