ชีววิทยา

Biology

1.เข้าใจความหมายและขอบข่ายของวิชาชีววิทยา
2.เข้าใจและปฏิบัติเกี่ยวกับเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
3.เข้าใจและปฏิบัติเกี่ยวกับเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต
4.เข้าใจและปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้างพืช
5.เข้าใจและปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้างสัตว์
6.เข้าใจและปฏิบัติเกี่ยวกับสรีรวิทยาของพืช
7.เข้าใจและปฏิบัติเกี่ยวกับสรีรวิทยาเกี่ยวกับสัตว์
8.เข้าใจและปฏิบัติเกี่ยวกับนิเวศวิทยา
9.เข้าใจและศึกษาเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพและอนุกรมวิธานของสิ่งมีชีวิต
เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจด้านชีววิทยาเป็นพื้นฐานและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในวิชาชีพและชีวิตประจำวัน
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับเซลล์ เนื้อเยื่อ โครงสร้างของสิ่งมีชีวิต สรีรวิทยาขั้นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต นิเวศวิทยา ความหลากหลายทางชีวภาพและอนุกรมวิธานของสิ่งมีชีวิต
1.1.1 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีที่สามารถพบเห็นได้ในชีวิตประจำวัน
1.2.2 มอบหมายงานให้นักศึกษาแต่ละคนและเป็นกลุ่ม เพื่อเพิ่มพูนความรู้ความสามารถในการค้นคว้าหาคำตอบและ เพื่อให้มีการฝึกฝนการแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง
1.2.3 เพื่อให้สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขเมื่อพบข้อขัดแย้งจากการทำงาน ร่วมกันสอบย่อยเพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาทบทวนบทเรียนอย่างสม่ำเสมอ
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 ประเมินผลการเรียนรู้จากงานที่มอบหมาย
1.3.3 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.4 ประเมินผลการเรียนรู้จากการสอบวัดผล
นักศึกษาต้องมีความรู้เกี่ยวกับเซลล์ เนื้อเยื่อ โครงสร้างของสิ่งมีชีวิต สรีรวิทยาขั้นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต นิเวศวิทยา ความหลากหลายทางชีวภาพและอนุกรมวิํานของสิ่งมีชีวิต
.2.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีที่สามารถพบเห็นได้ในชีวิตประจำวัน โดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
2.2.2 มอบหมายงานให้นักศึกษาแต่ละคน ได้ทำการวิเคราะห์ สรุปเนื้อหา และทำแบบฝึกหัด เพื่อให้มีการฝึกฝนการแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง
2.2.3 มอบหมายงานให้นักศึกษาทำงานกลุ่ม โดยให้ทำการค้นคว้าเนื้อหาเพิ่มเติมเนื้อหาที่ได้เรียน เพื่อให้สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขเมื่อพบข้อขัดแย้งจากการทำงานร่วมกัน
2.2.4 มีการสอบย่อยเพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาทบทวนบทเรียนอย่างสม่ำเสมอ
2.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2.3.2 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
พัฒนาความสามารถในการจับประเด็นเนื้อหา สรุป วิเคราะห์ โดยนำความรู้ที่ได้มาประมวลผลได้อย่างถูกต้อง
3.2.1 ฝึกฝนในห้องเรียนหลังการบรรยาย และมอบหมายงานให้นักศึกษาแต่ละคน
3.2.2 ฝึกฝนให้นักศึกษาทำงานกลุ่มในหัวข้อที่กำหนด
สอบกลางภาค ปลายภาค สอบย่อย รายงานกลุ่ม ทำงานมอบหมายและการบ้านในห้องเรียนและนอกห้องเรียน
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกันโดยการซักถาม
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างจริงจัง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 มีการถาม – ตอบในระหว่างเรียน
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เพื่อให้นักศึกษาฝึกแก้ไขปัญหาด้วยตนเองและมอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
ตรวจให้คะแนนงานที่มอบหมาย
5.1.1 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.3 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งการบ้านทางอีเมล์
5.1.4 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีที่สามารถพบเห็นได้ในชีวิตประจำวัน พร้อมทั้งมอบหมายงาน
5.2.2 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.3 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสมต่อการเรียนรู้
5.3.1 ตรวจให้คะแนนงานที่มอบหมาย
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในงานกลุ่ม และการนำเสนอรายงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 FUNSC301 ชีววิทยา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3,2.1,2.3, 3.1,3.2,4.1, 4.2,5.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค สอบย่อยครั้งที่ 1 สอบย่อยครั้งที่ 2 สัปดาห์ที่ 8 สัปดาห์ที่ 17 สัปดาห์ที่ 5 สัปดาห์ที่ 15 25 25 10 10
2 1.3,2.1,2.3, 3.1,3.2,4.1, 4.2,5.2 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20
3 1.3,2.1,2.3, 3.1,3.2,4.1, 4.2,5.2 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10
1. กฤษณ์ มงคลปัญญา และอัมรา ทองปาน. 2542. ชีววิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 4.
สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 352 น.
2. เชาวน์ ชิโนลักษณ์ และพรรณี ชิโนลักษณ์. 2540. ชีววิทยา 1. พิมพ์ครั้งที่ 5.
สานักพิมพ์ศิลปาบรรณาการ, กรุงเทพฯ. 845 น.
3. เชาวน์ ชิโนลักษณ์ และพรรณี ชิโนลักษณ์. 2540. ชีววิทยา 2. พิมพ์ครั้งที่ 5.
สานักพิมพ์ศิลปาบรรณาการ, กรุงเทพฯ. 845 น.
4. เชาวน์ ชิโนลักษณ์ และพรรณี ชิโนลักษณ์. 2540. ชีววิทยา 3. พิมพ์ครั้งที่ 5.
สานักพิมพ์ศิลปาบรรณาการ, กรุงเทพฯ. 845 น.
5. ทบวงมหาวิทยาลัย. 2530. ชีววิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 4. โรงพิมพ์ชวนพิมพ์, กรุงเทพ ฯ. 853 น.
6. นิตยา เลาหะจินดา. 2549. นิเวศวิทยา: พื้นฐานสิ่งแวดล้อมศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์, กรุงเทพ ฯ. 292 น.
7. ประดิษฐ์ พงศ์ทองคา. 2543. พันธุศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์, กรุงเทพ ฯ. 398 น.
8. ปรีชา สุวรรณพินิจ และนงลักษณ์ สุวรรณพินิจ. 2542. ชีววิทยา2. พิมพ์ครั้งที่ 3. จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, กรุงเทพ ฯ. 1276 น.
9. ปรีชา สุวรรณพินิจ และนงลักษณ์ สุวรรณพินิจ. 2543. ชีววิทยา1. พิมพ์ครั้งที่ 4. จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, กรุงเทพ ฯ. 444 น.
10. Audesirk, Gerald and Audesirk, Teresa. 1989. Biology: Life On Earth. 2nd ed.
Macmillan Publishing Company, New York. 723 p.
11. Campbell, Neil A. and Reece, Jane B. 2002. Biology. 6th ed. Pearson Education,
Inc., San Fancisco. 1247 p.