โครงงานวิศวกรรมอุตสาหการ

Industrial Engineering Project

          1.1 รู้เกี่ยวกับรูปแบบการศึกษาปัญหาในการจัดทำโครงงานอุตสาหการ
          1.2 เข้าใจกระบวนการทำงานวิจัยและสิ่งประดิษฐ์
          1.3 เข้าใจขั้นตอนการดำเนินงานการเขียนโครงงาน
          1.4 เข้าใจแนวคิด การแก้ปัญหา การวางแผนในการจัดทำโครงงาน
          1.5 พิจารณาเลือกทฤษฎีและหลักการประกอบเหตุผลการจัดทำโครงงาน
          1.6 จัดทำโครงงานอุตสาหการ
          1.7 ตระหนักถึงความสำคัญของโครงงานอุตสาหการ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษาทางด้านโครงงานวิศวกรรมอุตสาหการ สามารถนำความรู้ที่ได้ไปแก้ปัญหาและประยุกต์กับวิชาชีพและเทคโนโลยีใหม่ๆ
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับการทบทวนชื่อโครงงาน ความเป็นมาของปัญหา วัตถุประสงค์ ขอบเขต ตามหัวข้อโครงงานในรายวิชา ENGIE119 การเตรียมโครงงานวิศวกรรมอุตสาหการ ศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง แนวทางการแก้ปัญหา ปฏิบัติตามขั้นตอนและแผนการดำเนินงาน รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผล จัดทำรายงาน และนำเสนอโครงงานต่อคณะกรรมการสอบโครงงาน
- อาจารย์ประจำรายวิชาประกาศเวลาให้คำปรึกษาในชั่วโมงว่างของการเรียน
 - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 1.1.4 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม
 1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพและมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพรวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
                    1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรม ความซื่อสัตย์ การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น การใช้ ซอฟต์แวร์ที่มีลิขสิทธิ์
                    1.2.2 อภิปรายกลุ่ม
                    1.2.3 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
                    1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
                    1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
                    1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
                    1.3.4 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
                    2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐานและเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
 
                    2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรมอุตสาหการ
                    2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
                    2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม
                    2.1.5 สามารถใช้ความรู้ และทักษะในสาขาวิชาของตนในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
บรรยาย อภิปราย ขั้นตอนการจัดทำโครงงานวิศวกรรมอุตสาหการ ตามขั้นตอนและแผนการดำเนินงานที่ได้เขียนเอาไว้แล้ว ตลอดจนวิธีการเขียนรายงานสรุปผลต่างๆ และการนำเสนอโครงงานต่อคณะกรรมการสอบโครงงานวิศวกรรมอุตสาหการ
                    2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี
                    2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอโครงงานต่อคณะกรรมการสอบโครงงานวิศวกรรมอุตสาหการ
                    3.1.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
                    3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
                    3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
                    3.1.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
                    3.1.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
                    3.2.1 การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานของตนเอง ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
                    3.2.2 อภิปรายกลุ่ม
                    3.2.3 วิเคราะห์กรณีศึกษา ในการนำทฤษฎีเลือกใช้ให้เหมาะสม
                    3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากการทำงานเป็นกลุ่ม
                    3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีความเข้าใจ วิเคราะห์และการประยุกต์ใช้ทฤษฎี
                    3.3.2 วัดผลจากการประเมินโครงงาน การนำเสนอผลงาน
                    3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
                    4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นเหมาะสม
                    4.1.2 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่างๆ
                    4.1.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
                    4.1.4 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
                    4.1.5 มีจิตสานึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
                    4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
                    4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นบทความ หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
                    4.2.3 การนำเสนอโครงงานวิศวกรรมอุตสาหการ
                    4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน โดยการพูดคุยในกลุ่ม
                    4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
                    4.3.2 ประเมินจากการนำเสนอโครงงานของแต่ละคน
                    5.1.1 มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี
                    5.1.2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
                    5.1.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
                    5.1.4 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
                    5.1.5 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
                    5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
                    5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
                    5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
                    5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีอภิปราย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบจบปริญญานิพนธ์ คะแนนจากกรรมการสอบ 17 80
          1.1  เอกสารประกอบการเรียนรายงานโครงงานวิศวกรรมอุตสาหการ
          1.2  คู่มือการจัดทำปริญญานิพนธ์
เอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับโครงงานวิศวกรรมอุตสาหการ
          - การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
          - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
          - การสะท้อนคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน
- อาจารย์ผู้สอนประเมินผลการสอนของตนเองโดยดูพฤติกรรมการเรียนและผลการสอบของนักศึกษา
- ประชุมผู้สอนเทอมละ 1 ครั้ง เพื่อสรุปประเด็นปัญหาเพื่อปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอน
          - อาจารย์มีการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมในการให้คะแนน
          - มีการทวนสอบการให้คะแนนในข้อสอบ รายงาน โดยอาจารย์ท่านอื่นที่สอนในรายวิชาเดียวกัน
          - ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือ ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์
          - ทำการวิเคราะห์ข้อสอบเพื่อหาค่าความยากง่าย