การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ

Computer Programming for Business

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจการเขียนโปรแกรมที่ดี สามารถเลือกใช้โปรแกรมทดสอบการทำงานตามกระบวนการวิธีโดยใช้หลักการทำงานแบบมีตัวแปร เงื่อนไข การวนรอบ อาร์เรย์ โปรแกรมย่อย และใช้เทคนิควิธีการเพื่อให้ได้มาซึ่งกระบวนการแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ครอบคลุมตามวัตถุประสงค์ของรายวิชา
2. เพื่อให้การจัดการสอนสอดคล้องกับยุคสมัยและความต้องการกับผู้เรียน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับขั้นตอนการทำงานแบบอัลกอริทึม ภาษาสาหรับเขียนโปรแกรม รูปแบบการเขียนโปรแกรมที่ดี ประเภทของข้อมูล ค่าคงที่ ตัวแปร นิพจน์และตัวดำเนินการ การรับและการแสดงผลข้อมูล คำสั่งในการควบคุมการทำงาน อาร์เรย์ โปรแกรมย่อย การเขียนโปรแกรมเพื่อทำงานกับแฟ้มข้อมูล

Study and practice algorithmic workflows, programming languages, good programming patterns, data types, constants, variables, expressions, and operators, receiving and displaying data, commands to control, arrays, subprograms, programming to work with data files.
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
 
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3.1, 4.3.1, 5.3.1 สอบกลางภาค, สอบปลายภาค 9, 17 30%, 30%
2 2.3.5, 2.3.7, 3.3.1, 3.3.5, 3.3.8, 5.3.2, 5.3.4 ทดสอบย่อย แบบฝึกหัดท้ายบท การฝึกปฏิบัติเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งต่าง ๆ การทำโครงงานในวิชา ตลอดภาค การศึกษา 30%
3 1.3.2, 2.3.7 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ตลอดภาค การศึกษา 10%
- รุ่งทิวา เสาร์สิงห์. คู่มือเรียนรู้ภาษาซี ด้วยตนเอง. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2549. - กิตินันท์ พลสวัสดิ์. รวมโจทย์และแบบฝึกหัดภาษา C + Java. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2554.
- http://www.thaiall.com/tc/index.php เว็บไซต์ที่ให้บริการบทเรียนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ และเรื่องอื่น ๆ