การออกแบบโครงสร้างบรรจุภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์

Creative Design of Packaging Structure

มีการออกแบบและฝึกปฏิบัติเกี่ยวโครงสร้างของบรรจุภัณฑ์ตามวัสดุให้เกิดประโยชน์ใช้สอยควบคู่ไปกับความสวยงาม โดยประยุกต์อย่างสร้างสรรค์
1. เพื่อศึกษาการออกแบบโครงสร้างของบรรจุภัณฑ์ตามวัสดุให้เกิดประโยชน์ใช้สอยควบคู่ไปกับความสวยงาม โดยประยุกต์อย่างสร้างสรรค์
2. เพื่อฝึกปฏิบัติเกี่ยวโครงสร้างของบรรจุภัณฑ์ตามวัสดุให้เกิดประโยชน์ใช้สอยควบคู่ไปกับความสวยงาม โดยประยุกต์อย่างสร้างสรรค์
การออกแบบและฝึกปฏิบัติเกี่ยวโครงสร้างของบรรจุภัณฑ์ตามวัสดุให้เกิดประโยชน์ใช้สอยควบคู่ไปกับความสวยงาม โดยประยุกต์อย่างสร้างสรรค์
-    อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ -
      (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1. ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
2. มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
3. มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ
1. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1. รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
2. มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ
3. มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
4. มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา        
1. บรรยาย  ยกตัวอย่าง
1. สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2. ประเมินจากการปฏิบัติงาน
1. สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน 
2. สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
3. สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้
4. มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
1. บรรยาย และการให้นักศึกษาปฏิบัติโครงงานที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา
2. การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
1. สอบปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการเขียนแบบ
2. วัดผลจากการประเมินชิ้นงาน
3. สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
1. มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 
2. มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
1. บรรยาย-ถามตอบ
2. มอบหมายงานในห้องเรียน
1. ประเมินจากการถาม-ตอบ
2. ประเมินจากงานที่มอบหมาย
1. สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม
1. ประเมินจากการถาม-ตอบ
2. ประเมินจากงานที่มอบหมาย
1. ประเมินจากผลการสอบภาคทฤษฏี
2. ประเมินจากผลงานภาคปฏิบัติงาน
3. ประเมินผลของพฤติกรรม,บุคลิกภาพและความตั้งใจ,การเข้าร่วมกิจกรรมเสริมต่างๆ
1. มีทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานตน
บรรยาย   มอบหมายงานบุคคล ฝึกปฏิบัติ
ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน     ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและ วัฒนธรรม มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีwด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่่นและมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม มีทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานตน
1 BAAPD113 การออกแบบโครงสร้างบรรจุภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2 ,2.3, 2.4, 3.2, 3.4, 4.2 , 5.3, 6.1 สอบกลางภาค, สอบปลายภาค 9 ,17 15%, 15%
2 2.2, 2.3, 2.4, 3.2, 3.3, 3.4, 4.1, 4.2, 4.3, 5.3, 6.1 การปฏิบัติงานตามคำสั่งที่ได้รับมอบหมายใบงานที่ 1,2,3,4 และผลงานที่เสร็จสมบูรณ์ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 10, 11, 12, 13, 14, 15, 16 50%
3 1.1, 1.2, 1.3, 4.1, 4.3 การตรงต่อเวลา การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย และการมีส่วนร่วมการปฏิบัติงานภายในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ตลอดภาคการศึกษา 20%
ชัยรัตน์ อัศวางกูร. ออกแบบให้โดนใจ. กรุงเทพมหานคร : สำนักพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม, 2548. ปุ่น  คงเกียรติเจริญ, สมพร คงเกียรติเจริญ.  บรรจุภัณฑ์อาหาร  . กรุงเทพมหานคร  : แพคเมทส์, 2541. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย.  หลักการออกแบบบรรจุภัณฑ์   กรุงเทพมหานคร : บางกอกบล๊อค , 2548. ศูนย์การบรรจุหีบห่อไทย   วารสารการบรรจุภัณฑ์. อรสา จิรภิญโญ.   วิวัฒนาการบรรจุภัณฑ์ . กรุงเทพมหานคร : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง , 2548. อาทิตย์ ฉิมพาลี.   PACKAGING DESIGN การออกแบบบรรจุภัณฑ์  . กรุงเทพมหานคร :ก.พล พิมพ์, มปป.
หนังสือเรียบเรียง การออกแบบโครงสร้างบรรจุภัณฑ์ และผลงานการออกแบบของนักศึกษาที่จักส่งผลงานเข้าประกวดต่างๆ เช่น ThaiStar, SCG เป็นต้น
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง http://www.artnanastudio.com/ http://www.mew6.com http://www.bunjupun.com
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้             - การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน             - การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน             - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา             - ขอเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้             - การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน             - ผลการสอบ             - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้             - สัมมนาการจัดการเรียนการสอน             - การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้             - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร             - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้             - ปรับปรุงรายวิชาทุก 1 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4             - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ