วิศวกรรมอาหาร 2

Food Engineering 2

1. จุดมุ่งหมายรายวิชา
1.1 มีความรู้ความเข้าใจในหลักการพื้นฐานด้าน การทำแห้ง การระเหย การสกัด การกลั่น การแยกเชิงกล การลดขนาด ความรู้เบื้องต้นในการเขียน และอ่านแบบ อาคารโรงงาน อุตสาหกรรมอาหาร
1.2 สามารถคำนวณและแก้โจทย์ปัญหาของหน่วยปฏิบัติการทางวิศวกรรมอาหาร เช่น การ ทำแห้ง การระเหย การสกัด การกลั่น การแยกเชิงกล การลดขนาด
1.3 สามารถบูรณาการองค์ความรู้ด้านวิศวกรรมอาหารกับองค์ความรู้อื่นในสาขาวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารได้อย่างเหมาะสมมีความรู้เบื้องต้นในการเขียน และอ่านแบบ อาคารโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร  
การทำแห้ง การระเหย การสกัด การกลั่น การแยกเชิงกล การลดขนาด ความรู้เบื้องต้นในการเขียน และอ่านแบบ อาคารโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร Drying; evaporation; extraction; distillation; mechanical separation and size reduction; basic knowledge in reading and writing plant construction drawing.  
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ โดยจัดเวลาการให้คำปรึกษาดังนี้ คือ วันพุธและพฤหัสบดี เวลา 15.30 - 16.30 น. ห้องพักอาจารย์ หลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร และ e-mail; krodsup@rmutl.ac.th เวลา 20.00 - 21.00 น. วันจันทร์  
มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏบิ ัติตาม จรรยาบรรณวิชาชีพ แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์ สุจรติ มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและ สังคม เคารพกฎระเบยี บและข้อบังคับต่าง ๆ ของ องค์กรและสังคม เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
การสังเกตพฤติกรรมและให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย ที่เหมาะสม และการส่งงานตรงต่อ เวลา  ประเมินจากการทุจรติ ในการสอบ  ประเมินจากความประพฤติที่ก่อให้เกิดความเสื่อมเสียชื่อเสียงทั้ง ตนเองและมหาวิทยาลัย
ประเมินจากการเข้าร่วมกิจกรรมที่สาขา/มหาลัยจัดขึ้น ประเมินผลจากกรณีศึกษาและอภิปรายด้านจรรยาบรรณวิชาชีพ
มีความรู้และความเข้าใจเกยี่ วกับหลักการ และทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา มีความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่ เกี่ยวข้อง สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไข ปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้ เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจ ผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ  รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนคิ รวมถึง การปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนอง
ต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
1. วัดและประเมินผล
- ประเมินผลงานระหว่างเรียน เช่น แบบฝึกหัด รายงาน การ สอบกลางภาค การนำเสนอ ผลงาน รายงานการค้นคว้า  - วัดและประเมนิ ผลปลายภาค เรียนจากการสอบข้อเขียน        ประเมินผลจากกรณีศึกษาและ การอภิปราย รายงานผลการ ทดลอง ประเมินจากการนำเสนอหนา้ชั้นเรียน เล่มรายงาน  4. การสังเกตผู้เรียน    
มีความสามารถในการค้นหา ข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและ ประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและ หลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่งข้อมูลที่ หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการ แก้ไขปัญหา หรืองานอื่น ๆ โดยไม่ต้อง อาศัยคำแนะนำ  สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และ เสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์ สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ใน บริบททางวิชาชีพและวิชาการ  เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุม
และประกันคุณภาพ การวิจัย และงาน
อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการ ฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของ สาขาวิชา
ประเมินจากแบบสอบถาม วัดและประเมินผลจากผล
การแก้ไขปัญหาที่ได้รบั
มอบหมาย
การสอบข้อเขียน ประเมินจากการนำเสนอหน้าชั้น เรียน
3. ประเมินจากแบบสอบถาม 4. ประเมินจากรายงานผลการ ทดลอง และการสอบปฏบิ ัติ
มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับ มอบหมายทั้งของตนเอง และ รับผิดชอบงานในกลุ่ม สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่น ทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิก กลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้ เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และ ความรับผิดชอบ สามารถวางแผนและรับผิดชอบการ พัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและ ทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
1. ประเมินโดย
ประเมินจากการายงานหนา้ ชั้นเรียนโดยอาจารย์และ นักศึกษา   ประเมินพฤติกรรมภาวะการ
เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
2. สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน ประเมินผลจากการประเมนิ ตนเองและกิจกรรมกลุ่ม
สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติ หรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ ในการวิเคราะห์แปลความหมาย
และเสนอแนวทางในการแก้ปัญหา
ได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถสรุปประเด็นและสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการ เลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่ เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือก แหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับ สาระสำคัญของวิชานั้น ๆ จาก แหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งใน ระดับชาติและนานาชาติ มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารที่ เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอ เพื่อการรวบรวมข้อมูล แปล ความหมายและสื่อสารข้อมูล ข่าวสารและแนวความคิด สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการ
จัดเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่าง เหมาะสม สามารถติดตามความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยี นวัตกรรมและ สถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง ทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และ ภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้ อย่างเหมาะสม
วัดและประเมินผลจากผล การแก้ไขปัญหาที่ได้รบั
มอบหมาย
ประเมินจากผลงานและการ นำเสนอผลงาน สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา ด้านความมีเหตุผลและบันทึก เป็นระยะ สังเกตพฤติกรรม สัมภาษณ์ นักศึกษา
 
มีทักษะในการบริหารจัดการในด้าน
เวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการ รวมถึงความสามารถในการทำงาน เป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความ รับผิดชอบ
ประเมินจากการส่งงานตรง
เวลา
สังเกตุการทำงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
1. เทวรัตน์ ทิพยวิมล. 2552. เอกสารประกอบการสอนวิชาการอบแห้งและการเก็บรักษา ผลผลิต เกษตร. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
2. รุ่งนภา พงศ์สวัสดิ์มานิต. 2555. วิศวกรรมอาหาร: หน่วยปฏิบัติการในอุตสาหกรรม. พิมพ์ ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
3. วรรณลภย์ บุญรอง. 2563. วิทยานิพนธ์เรื่อง การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการลดขนาด อนุภาค ของเม็ดแป้งมันสำปะหลังในกระบวนการอบแห้ง. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
4. วิวัฒน์ ตัณฑะพานิชกุล. 2548. เทคโนโลยีอบแห้งในอุตสาหกรรมอาหาร. สำนักพิมพ์ ส.ส.ท.
5. สาวิตรี จันทรานุรักษ์. 2546. กระบวนการแยกเชิงกลในอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
6. สุขสม เสนานาญ. 2559. อ่านแบบ เขียนแบบ งานสถาปัตยกรรม. สำนักพิมพ์ ส.ส.ท.
7. เอกชัย รัตนโน. 2559. เขียนแบบเบื้องต้น. สำนักพิมพ์ ซีเอ็ดยูเคชั่น
8. Brennan J. G. 2006. Food Processing Handbook. WILEY-VCH Verlag GmbH & Co. KGaA, Weinheim, Germany.
9. Charm, S. E. 1978. The fundamentals of food engineering. 3rd edition. AVI Publishing Co., Westport, Connecticut.
10. Earle, R. L., and Earle, M. D. 2004. Unit operation in food processing. The web edition. New Zealand: NZIFST, Inc. สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม 2563. จาก https://docplayer.net/79214525-Unit-operations-in-foodprocessing.html
11. Geankoplis, C. J. 1993. Transport processes and unit operations. 3rd edition. Prentice Hall P T R, New Jersey.
12. Ibarz A. and Barbosa-Cánovas G. V. 2003. Unit Operations in Food Engineering. CRC Press LLC.
13. McCabe, W. L., Smith, J. C., and Harriott, P. 2004. Unit operations of chemical engineering. 7th edition. New York: McGraw-Hill Education.
14. Smith, P. G. 2011. Introduction to food process engineering. 2nd edition. New York: Springer.
15. Toledo, R. T. 2007. Fundamentals of food process engineering. 3rd edition. New York: Springer Science+Business Media, LLC  
1. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน. 2547. แบบบ้านอยู่ สบาย ประหยัดพลังงาน-รายงานฉบับสมบูรณ์
2. กองช่าง เทศบาลเมืองลำพูน. มปป. รายละเอียดประกอบแบบแปลน ลานกีฬา เอนกประสงค์เพื่อสร้างสังคมไทยเป็นสุขพี
3. นัมเบอร์วัน ดีไซน์. 2564. วิธีอ่านแบบก่อสร้าง. สืบค้นเมื่อ 25 มกราคม 2563. จาก https://www.รับจ้างเขียนแบบ.com/วิธีอ่านแบบก่อสร้าง+11949.html
4. ศักดิ์ชัย อาษาวัง. 2561. รายงานโครงการวิจัยเรื่อง วิจัยและพัฒนาเครื่องจักรบดย่อยพืชผัก และสมุนไพร. กรมวิชาการเกษตร. 61 หน้า
5. วรรณลภย์ บุญรอง. 2563. วิทยานิพนธ์เรื่อง การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการลดขนาด อนุภาคของเม็ดแป้งมันสำปะหลังในกระบวนการอบแห้ง. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สุรนารี