วงจรดิจิทัล

Digital Circuits

นักศึกษาเข้าใจหลักการทํางานของอุปกรณ์ดิจิตอลและลอจิกที่โปรแกรมได้ และสามารออกแบบวงจรดิจิตอลและลอจิกได้
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับคํานิยาม องค์ประกอบของสัญญาณดิจิตอล เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักการพื้นฐานอุปกรณ์ลอจิก เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการออกแบบวงจรลอจิก
ศึกษาเกี่ยวกับระบบตัวเลขและรหัส  พีชคณิตบูลีน การลดทอนฟังก์ชันลอจิก การออกแบบวงจรลอจิกคอมไบเนชัน การออกแบบวงจรซีเควนเชียล หน่วยคำนวณ และลอจิกด้าน คณิตศาสตร์ในระบบดิจิทัล  การแปลงสัญญาณดิจิทัลเป็นแอนะล็อก และแอนะล็อกเป็นดิจิทัล การประยุกต์ใช้วงจรดิจิทัลในงานอุตสาหกรรม อุปกรณ์ดิจิทัลสมัยใหม่
อาจารย์ประจํารายวิชา ประกาศเวลาให้คําปรึกษาแก่นักศึกษา อาจารย์จัดเวลาให้คําปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 พัฒนาผู็เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ
1.1.2 เคารพในบทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ทําหน้าที่ออกแบบ และผู้ที่เกี่ยวข้อง
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับงานของ ผู้ทําหน้าที่ออกแบบระบบดิจิทัล และผู้ที่เกี่ยวข้อง
1.2.2 อภิปรายกลุ่ม
1.2.3 กําหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง
12.4 บทบาทสมมติ
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นํามาทํารายงานอย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4 ประเมินผลการนําเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1.1 ระบบตัวเลขและรหัส
2.1.2 พีชคณิตบูลีน การลดทอนฟังก์ชันลอจิก
2.1.3 การออกแบบวงจรลอจิกคอมไบเนชัน
2.1.4 วงจรซีเควนเชียลเบื้องต้น
2.1.5 การออกแบบวงจรซีเควนเชียลแบบเข้าจังหวะ
2.1.6 การออกแบบวงจรซีเควนเชียลแบบไม่เข้าจังหวะ
2.1.7 หน่วยคำนวณ และลอจิกด้านคณิตศาสตร์ในระบบดิจิทัล
2.1.8 แปลงสัญญาณดิจิทัลเป็นแอนะล็อก และแอนะล็อกเป็นดิจิทัล
2.1.9 การประยุกต์ใช้วงจรดิจิทัลในงานอุตสาหกรรม
2.1.10 อุปกรณ์ดิจิทัลสมัยใหม่
2.2.1 บรรยายเนื้อหารายวิชา
2.2.2 การทํางานกลุ่ม การนําเสนอและอภิปราย
2.2.3 มอบหมายให้อ่าน และศึกษาจากบทความ
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบ
2.3.2 Workshop or Practice Report (group)
2.3.3 Assignment (individual)
3.1.1 พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้งานวงจรดิจิทัลและลอจิก
3.2.1 บรรยายเนื้อหารายวิชา
3.2.2 การทํางานกลุ่ม การนําเสนอและอภิปราย
3.2.3 มอบหมายให้อ่าน และศึกษาจากบทความ
3.2.4 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบ
3.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบ
3.3.2 Workshop or Practice Report (group)
3.3.3 Assignment (individual)
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นําและผู้ตามในการทํางานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกําหนดเวลา
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่ม มอบหมายงานรายกลุ่ม การนําเสนอและอภิปราย เช่น การสร้าง กระบวนการต่างๆ ของการควบคุมและการออกแบบระบบ
4.3.1 รายงานที่นําเสนอ และพฤติกรรมการทํางานเป็นทีม
4.3.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบ
5.1.1 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทํารายงาน และนําเสนอในชั้นเรียน
5.1.2 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา และการสืบค้น ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
5.1.3 ทักษะในการนําเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่ม มอบหมายงานรายกลุ่ม การนําเสนอและอภิปราย เช่น การสร้างกระบวนการต่างๆ ของการควบคุมและบํารุงรักษาชิ้นงาน
5.3.1 รายงานที่นําเสนอ และพฤติกรรมการทํางานเป็นทีม
เน้นไปที่การสร้างทักษะการปฏิบัติงานทางวงจรดิจิทัล ดังข้อต่อไปนี้
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
ฝึกปฏิบัติการทดลองวงจรดิจิทัล โดยใช้โปรแกรม Digital Circuit Simulation
สังเกตขั้นตอนปฏิบัติงานและความเชี่ยวชาญในการออกแบบและทดลองใบงานวงจรดิจิทัล
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 2 3 4 5 1 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGEL106 วงจรดิจิทัล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.6,1.7,2.1,2.4-2.6,3.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1,สอบกลางภาค,ทดสอบย่อยครั้งที่ 2,สอบปลายภาค 4,7,12,17 10%,25%,10%,25%
2 1.1,1.6,1.7,2.1,2.4-2.6,3.2,4.1-4.6,5.3-5.4 วิเคราห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ,รายงาน,การทำงานกลุ่มและผลงาน,การอ่านและสรุปความ ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1-1.7,3.1 การส่งงานตามที่มอบหมาย,การเข้าชั้นเรียน,การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
Digital electronics a practical approach  with VHDL   by William Kleitz MultiSim 2012
Anil Kumar. (2007). Digital electronics Digital Electronics: Principles, Devices and Applications. John Wiley & Sons Ltd, The Atrium,Southern Gate, Chichester, West Sussex PO19 8SQ, England
Bignell James & Donavan. (2000). Digital Electronics. (4th ed.). New York:Delmar Publishers.
Digital System Design with VHDL (2nd Edition) 2nd Edition by Mark Zwolinski  
ไม่มี
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น WiKipedia คำอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 การสะท้อนความคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.3 การสังเกตการณ์สอน ของผู้สอน  
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยนอกชั้นเรียน  
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหา  ที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ