การควบคุมมอเตอร์ในงานอุตสาหกรรม

Industrial Motor Control

1.1 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจโครงสร้างส่วนประอบของมอเตอร์ หลักการทำงานของมอเตอร์ 1 เฟส และ 3 เฟส 
1.2  เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจสัญลักษณ์ที่ใช้ในการควบคุมมอเตอร์
1.3  เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจอุปกรณ์ป้องกันมอเตอร์
1.4  เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจการเขียนแบบและอ่านแบบวงจรควบคุมมอเตอร์
1.5 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจการควบคุมมอเตอร์แบบต่างๆรวมถึงการเดินสายในตู้ควบคุมและตรวจสอบข้อบกพร่องในการควบคุมมอเตอร์
  เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน  การต่อมอเตอร์ การควบคุมมอเตอร์ในงานอุตสาหกรรม สามารถนำเทคโนโลยีงานควบคุมทางอุตสาหกรรมสมัยใหม่ไปใช้งานได้
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับชนิด โครงสร้าง ส่วนประกอบและหลักการทํางานของ มอเตอร์กระแสตรง มอเตอร์กระแสสลับทั้ง 1 เฟสและ 3 เฟส สัญลักษณ์ที่ใช้ในงาน ควบคุมมอเตอร์อุปกรณ์ควบคุมมอเตอร์อุปกรณ์ป้องกันมอเตอร์การอ่านแบบและ เขียนแบบวงจรควบคุมมอเตอร์ การเริ่มเดินและการกลับทางหมุนมอเตอร์ในงาน อุตสาหกรรม การควบคุมมอเตอร์ด้วยอุปกรณ์แปลงผันกําลังไฟฟ้า การเดิน สายไฟฟ้าในตู้ควบคุม การตรวจสอบข้อบกพร่องในการควบคุมมอเตอร์
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ    1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
(1) เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต (2) มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม (3) มีภาวะความเป็นผู้นําและผู้ตาม สามารถทํางานเป็นหมู่คณะ สามารถ แก้ไขข้อขัดแย้งตามลําดับความสําคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็น ของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ (4) สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรม ต่อบุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม (5) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมใน แต่ละสาขาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
 บรรยายพร้อมสื่อการสอนวิดิทัศน์เกี่ยวกับการควบคุมมอเตอร์ ฝึกปฏิบัติงานเดินสายไฟฟ้าในตู้ควบคุมระบบไฟฟ้า       3  ฝึกปฏิบัติงานควบคุมมอเตอร์       4. กำหนดให้นักศึกษาฝึกออกแบบควบคุมเครื่องจักรอุตสาหกรรมทำงานตามเงื่อนไข
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลปฏิบัติงานและการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
มอเตอร์ไฟฟ้า  การต่อมอเตอร์   การควบคุมมอเตอร์ การเลือกใช้อุปกรณ์ในงานควบคุมไฟฟ้า  มีทักษะการเดินสายไฟฟ้าในตู้ควบคุมระบบไฟฟ้า   ก  พื้นฐานการออกแบบควบคุมงานอุตสาหกรรม  
การตรวจสอบข้อบกพร่องในการควบคุมมอเตอร์  
บรรยาย  อภิปราย สาธิต  การฝึกปฏิบัติงาน การนำเสนอรายงาน มอบหมายให้ค้นคว้าเกี่ยวกับระบบควบคุมมอเตอร์และนิวแมติกไฟฟ้า  เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
  ประเมินจากการฝึกปฏิบัติงานและนำเสนอรายงาน     
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์เงื่อนไขการทำงานระบบควบคุม   เลือกใช้เทคโนโลยีงานควบคุมไฟฟ้าให้เหมาะสม
การมอบให้นักศึกษาฝึกงานอ่าน-เขียนแบบไฟฟ้า และการปฏิบัติงานควบคุมไฟฟ้า
 วิเคราะห์กรณีศึกษา  เลือกใช้เทคโนโลยีการควบคุมไฟฟ้าที่เหมาะสมและประหยัดพลังงาน
  การสะท้อนแนวคิดจากประพฤติกรรม
สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้งานการควบคุมไฟฟ้า
วัดผลจากการฝึกปฏิบัติงาน  การนำเสนอผลงาน
สังเกตพฤติกรรมการเรียน
พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเองและมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
  ฝึกปฏิบัติงานรายบุคคล
  มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของระบบควบคุมอัตโนมัติ
  การนำเสนอรายงานหลังฝึกปฏิบัติงาน
ประเมินผลการปฏิบัติงาน
 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ   
ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง    
   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
  พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อผิดพลาดจากการปฏิบัติงาน
  พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
 ทักษะการเลือกใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ควบคุมไฟฟ้าให้ถูกต้อง  ปลอดภัย
  ทักษะในการนำเสนอรายงาน
 
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีการควบคุมไฟฟ้าที่เหมาะสมและประหยัดพลังงาน
ประเมินจากการฝึกปฏิบัติงานควบคุมไฟฟ้า
   ประเมินจากรายงานการปฏิบัติงาน
มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพมีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
ร้างทักษะในการปฏิบัติงาน สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ สนับสนุนการเข้าร่วมกิจกรรมกับหน่วยงานภายในและภายนอก จัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักศึกษา สนับสนุนการทำโครงงาน สหกิจศึกษา/ฝึกงานทางวิศวกรรมในสถานประกอบการ
มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน มีการใช้งานวิจัยของอาจารย์ประกอบการเรียนการสอน มีการประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ มีการประเมินโครงงานของนักศึกษา มีการประเมินนักศึกษาในวิชาสหกิจศึกษา/ฝึกงานทางวิศวกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 บทที่ 1-3 บทที่1-3 บทที่ 4 บทที่ 4-5 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบ ย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 8 12 1ึ7 10% 20% 10% 20%
2 บทที่ 1-5 ฝึกปฏิบัติงานควบคุมมอเตอร์ รายงานผลการประลอง ค้นคว้า การนำเสนอ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษษ 30%
3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน/บันทึกงาน ตลอดภาคการศึกษา 10%
การควบคุมมอเตอร์และนิวแมติกไฟฟ้า โดย ผศ.นิพนธ์  เรืองวิริยะนันท์
    เอกสารประกอบการสอนการควบคุมไฟฟ้าและนิวแมติกส์
สื่อจากเว็บไชต์ต่างๆ
G.Prede and D.Scholz : Electro pneumatics  Textbook.                  Klockner Moeller :  Wiring Manual  Automationand Power Distribution                  WALTER N.ALERICH : Electric motor control  DELMAR PUBLISHERS.Inc. 1998,                  W.H.TIMBIE and F.G.WILLSON : INDUSTRIAL  ELECTRICITY Volume Two                     A.C.Practice  JOHN WILEY & SONS, Inc. เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อการควบคุมมอเตอร์ , นิวแมติกไฟฟ้า
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การฝึกประลองการควบคุมไฟฟ้า  นำเสนอสรุปผลการประลองการควบคุมไฟฟ้า แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้  
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้  สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ