การส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตร
Agricultural Technology Transfer and Extension
เพื่อศึกษาความหมาย ความสำคัญและหลักการส่งเสริมการเกษตร การเรียนรู้และกระบวนการเรียนรู้ และใช้สื่อเพื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยี การวิเคราะห์ปัญหาการเกษตร เพื่อการวางแผนส่งเสริมแบบยั่งยืน กระบวนการยอมรับนวัตกรรมของเกษตรกร หลักการและวิธีการถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตร แหล่งข้อมูลข่าวสารสารสนเทศทางการเกษตร
เพื่อเป็นตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 และพัฒนาการเรียนการสอนเพื่อให้ทนสมัยสอดคล้องกับเหตุการณ์ สภาพการผลิตสัตว์ ณ ปัจจุบัน
ศึกษาความสำคัญของการส่งเสริมการเกษตร การเรียนรู้ และกระบวนการรียนรู้ การวิเคราะห์ปัญหาการเกาตรเพื่อการวางแผนส่งเสริมแบบยั่งยืน กระบวนการยอมรับนวตกรรมของเกษตรกร หลักการและวิธีถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรและแหล่งข้อมูลข่าวสารสนเทศทางการเกษตร
จัดเวลาให้นักศึกษาเข้าพบเพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการสัปดาห์ละ 1 ชั่วโมง โดยใช้วิธีนักศึกษานัดหมายอาจารย์ล่วงหน้า
- นักศึกษาสามารถติดต่อได้ทาง e-mail : kanthayaji@gmail.com
- มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
- มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
- มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
- เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง มีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม และแสดงความคิดเห็น
- มีการสอดแทรกและยกตัวอย่างด้านคุณธรรมจริยธรรม ในขณะที่สอนเนื้อหา
- มีการกำหนดกฎกติกามารยาทในชั้นเรียน เช่น การเข้าเรียนตรงต่อเวลา การเข้าเรียนสม่ำเสมอ
- สอนให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย และมีความซื่อสัตย์ในการสอบ
- ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียนและในแปลงปฏิบัติการ
- ตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลา การปฏิบัติตามกฎกติกา ที่อาจารย์ผู้สอนกำหนด และความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินจากการไม่ทุจริตในการสอบ
- นักศึกษาประเมินตนเอง
- มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
- สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
- ใช้วิธีการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
- มีการบรรยายร่วมกับการสื่อสารสองทาง ยกตัวอย่างประกอบ ศึกษาจากการสืบค้นด้วยตนเอง จัดทำรายงาน ตลอดจนนำเสนอรายงานในชั้นเรียน เพื่อให้นักศึกษาร่วมกันวิเคราะห์และวิจารณ์
- การสอบย่อยหลังเรียน
- ประเมินผลจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินผลความความสม่ำเสมอในการเข้าชั้นเรียน และการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
- มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
- มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
- ฝึกให้บรรยายความรู้และความเข้าใจในเนื้อหาที่เรียน
- มอบหมายให้ทำงานเป็นกลุ่ม และรายงานผลการทำงานในชั้นเรียน
- ประเมินจากการโต้ตอบคำถาม และการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน
- จากรายงานกลุ่ม และการนำเสนอรายงาน
- ประเมินจากการสอบข้อเขียน ในการสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค
- มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
- มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
- สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- มอบหมายงานกลุ่ม ให้นักศึกษาทำงานเป็นทีม
- จัดกิจกรรมเสริมทั้งในและนอกชั้นเรียน
- ประเมินจากกระบวนการทำงานและผลงานที่ทำเป็นกลุ่ม
- ให้นักศึกษาประเมินสมาชิกในกลุ่ม
- สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
- สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
- สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- มอบหมายงานมอบหมายที่ต้องใช้ทักษะในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ เช่น การสำรวจ วิเคราะห์ และวางแผนการส่งเสริมการเกษตรในพื้นที่ชุมชน
- สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เช่น MS Word และ MS PowerPoint ในการจัดทำรายงานและนำเสนอรายงาน
- ใช้สื่อและโปรแกรมคอมพิวเตอร์ประการการสอน เช่น โปรแกรม MS Word และ MS PowerPoint มีการนำเสนองานกลุ่ม พร้อมข้อเสนอแนะ เพื่อเน้นให้นักศึกษาใช้ภาษาอย่างถูกต้อง และชัดเจน
- มีการมอบหมายงาน โดยการค้นคว้าด้วยตนเองจากตำรา วารสาร เอกสารวิชาการ หรือ ทางอินเตอร์เน็ต
- ประเมินจากผลงาน ทักษะการใช้ภาษา และการนำเสนอข้อมูล
- สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
- สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
- สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | คุณธรรม จริยธรรม | ความรู้ | ทักษะทางปัญญา | ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ทักษะพิสัย | ||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 2 | 1 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 1 | 2 | 1 |
1 | BSCAG009 | การส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตร |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล | ไม่มีข้อมูล |
---|
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. หลักการส่งเสริมการเกษตร. กรุงเทพฯ.
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. หลักการส่งเสริมการเกษตร
ข้อมูล/ สถิติของกรมส่งเสริมการเกษตร, กรมวิชาการเกษตร, กรมปศุสัตว์
วีดีทัศน์ ประชาสัมพันธ์ต่างๆ www.youtube.com
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชาโดยนักศึกษา ดำเนินการดังนี้
-แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาที่จัดทำโดยมหาวิทยาลัย
-การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการจัดการเรียนการสอนระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
- ผลการทดสอบ
- พฤติกรรมการเรียน การตอบคำถาม
รับฟังข้อซักถามจากนักศึกษาและปรับจุดบกพร่องรวมไปถึงพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ๆให้ทันตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงในแต่ละปีหรือไตรมาสของเศรษฐกิจอย่างสม่ำเสมอ
-ทวนจากคะแนนสอบ และรายงาน
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชาได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น