เทคโนโลยีการจัดการฟาร์มปศุสัตว์

Livestock Management Technology

รู้และเข้าใจเกี่ยวกับสถานการณ์และแนวโน้มการผลิตปศุสัตว์ในยุคปัจจุบัน การจัดการข้อมูลสารสนเทศในฟาร์ม การบริหารงบประมาณและต้นทุนการผลิต การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการผลิตปศุสัตว์ เทคโนโลยีใหม่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และการสร้างมูลค่า
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญา ประสบการณ์ ในการนำความรู้ ความเข้าใจในหลักการใช้เทคโนโลยีการจัดการฟาร์มปศุสัตว์ ทั้งในระดับฟาร์มขนาดใหญ่และในเกษตรกรรายย่อยได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ควรมีการปรับปรุงเนื้อหาและ/หรือยกตัวอย่างประกอบที่ทันสมัยให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันอยู่ตลอดเวลา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับสถานการณ์และแนวโน้มการผลิตปศูสัตว์ในยุคปัจจุบัน การจัดการข้อมูลสารสนเทศในฟาร์ม การบริหารงบประมาณและต้นทุนการผลิต การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการผลิตปศุสัตว์เทคโนโลยีใหม่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และการสร้างมูลค่าเพิ่ม
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ โดยนักศึกษาสามารถนัดหมายผ่านทางอีเมล์ kanthayaji@gmail.com หรือหมายเลขโทรศัพท์
1. มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ  2. มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)   2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)      3. การสอนแบบบรรยาย   
 
1.การฝึกตีความ  2.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ  3.การประเมินตนเอง
1. มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่าง  ถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง  2. มีความรอบรู้ หมายถึง มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม 
1. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)     2. การสอนแบบบรรยายและ เชิงอภิปราย   
 
1. การนำเสนองาน  2. ข้อสอบอัตนัย  3. ข้อสอบปรนัย
1. สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม  2. สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์  จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่  3. ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม 
1. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)  2. การสอนแบบ  Brain Storming Group    3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)  
 
1. การสังเกต  2. การนำเสนองาน  3. ประเมินจากการแสดงความคิดเห็น  4. ข้อสอบอัตนัย  5. ข้อสอบปรนัย
1. ภาวะผู้นำ หมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม  2. มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม
1. การสอนแบบสถานการณ์จำลอง (Simulation)   2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)   3. จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียนที่นักศึกษา  มีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น 4.มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจ   กรรมที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้ร่วมกับผู้อื่น
1. โครงการกลุ่มและรายงานกลุ่ม  2. การนำเสนองาน  3. การประเมินโดยเพื่อน
1. มีทักษะการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง  พูด อ่าน และเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน  2. มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry  Process)  และแนะนำการสืบค้นด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ  2. ใช้  Powerpoint  และมีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตร่วมด้วย
1.โครงการกลุ่มและรายงานกลุ่ม  2. การนำเสนองานรายงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรมที่ต้องพัฒนา 2.ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ 3.ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 คุณธรรมและจริยธรรมหมายถึงศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบมีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ 1.2 มีจรรยาบรรณหมายถึงมีระเบียบวินัยและเคารพ กฎกติกาของสังคมประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ความเข้าใจในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่างถ้องแท้และเป็นระบบทั้งหลักการทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง 3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึงมีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม 3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์หมายถึงความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ 3.3 ใฝ่รู้รู้จักวิธีการเรียนรู้หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม 4.1 ภาวะผู้นำ หมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม 5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 BSCAG206 เทคโนโลยีการจัดการฟาร์มปศุสัตว์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 หน่วยที่ 1-6 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค 3-15, 9, 18 10% 20% 20%
2 หน่วยที่ 1 - 6 มอบหมายงานกลุ่มและเดี่ยว (ความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา ตรงตามวัตถุประสงค์ ซื่อสัตย์ และการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม) ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 หน่วยที่ 1 - 6 บันทึการเข้าชั้นเรียนและพฤติกรรมผู้เรียนรายบุคคล การตอบคำถาม การคิดวิเคราะห์ และการตอบโต้ ตลอดภาคการศึกษา 10% 10%
Herren, R.V. (1998). The science of animal agriculture. (2nd ed.). New York : Deimar. Ronald D. Kay, William M. Edwards. Farm Management. McGRAW-HILL International Edition, 1994. S.B. Harsh, L.J. Connor and G.D. Schwab. Managing the Farm Business. Prentice Hall, Inc. 1981.
กรมปศุสัตว์. (2540). คู่มือปฏิบัติการเลี้ยงโคนมสำหรับเกษตรกร. กองปศุสัตว์ สัมพันธ์ กรมปศุสัตว์.กรุงเทพมหานคร.
กฤตพล สมมาตร์. (2543). วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการผลิตสัตว์เบื้องต้น : หลักการผลิตโค-กระบือ. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น.
ขวัญกมล กลิ่นศรีสุข. 2539. การจัดการธุรกิจฟาร์ม. นครราชสีมา จุฑารัตน์ เศรษฐกุล และญานิน โอภาสพัฒนกิจ. (2548). ลักษณะซากโคขุนลูกผสมบราห์มันและชิ้นส่วนจากการตัดแต่ง. [ภาพโปสเตอร์]. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ชัยณรงค์ คันธพนิต. (2529). วิทยาศาสตร์เนื้อสัตว์. ไทยวัฒนาพานิช. กรุงเทพมหานคร.
ทองโรจน์ อ่อนจันทร์ . 2530. เศรษฐศาสตร์เกษตร . โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช. กรุงเทพ ฯ 
ธำรงศักดิ์ พลบำรุง. (2530). การบริหารงานฟาร์มไก่ไข่ให้มีประสิทธิภาพ. โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์.กรุงเทพมหานคร.
บุญเสริม ชีวะอิสระกุล, บุญล้อม ชีวะอิสระกุล. (2542). พื้นฐานสัตวศาสตร์. ธนบรรณการพิมพ์.เชียงใหม่.
บุญล้อม ชีวะอิสระกุล. (2541). โภชนศาสตร์สัตว์. ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่.
พันทิพา พงษ์เพียจันทร์. (2535). หลักการอาหารสัตว์ เล่ม 1 โภชนะ. โอเดียน สโตร์.กรุงเทพมหานคร.
พานิช ทินนิมิตร. (2535). หลักการเลี้ยงสัตว์. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. สงขลา.
มณฑา โรจนาภรณ์ . หลักเศรษฐศาสตร์เกษตร . 2545. บริษัทแท็ก แอนด์ เจอร์นัล พับลิเคชั่น จำกัด. กรุงเทพ ฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์. 2538. เอกสารการสอนชุดวิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร และสหกรณ์ กรุงเทพ ฯ : สำนักพิมพ์สุโขทัยธรรมาธิราช.
มานิตย์ เทวรักษ์พิทักษ์. (2536). การจัดการฟาร์มสัตว์ปีก. เชียงใหม่ : คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
ศรเทพ ธัมวาสร. (2539). การเลี้ยงโคเนื้อ. กรุงเทพมหานคร : ฟันนี่ พับบลิชชิ่ง.
ศรีสกุล วรจันทรา และรณชัย สิทธิไกรพงษ์. (2539). โภชนศาสตร์สัตว์. โอเดียนสโตร์. กรุงเทพมหานคร.
สมศักดิ์  เพรียบพร้อม. 2530. หลักและวิธีการจัดการธุรกิจฟาร์ม. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, กรุงเทพมหานคร.
สมศักดิ์  เพียบพร้อม. การจัดการฟาร์มประยุกต์. ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรกฎาคม 2531.
สว่าง อังกุโร. (2543). คำแนะนำการเลี้ยงโคขุน. กองปศุสัตว์สัมพันธ์ กรมปศุสัตว์. กรุงเทพมหานคร.
สัญชัย จตุรสิทธา. (2543). เทคโนโลยีเนื้อสัตว์. ธนบรรณการพิมพ์. เชียงใหม่.
สิริพันธุ์ จุลกรังคะ. (2542). โภชนศาสตร์เบื้องต้น. หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.กรุงเทพมหานคร.
สุรชัย ชาครียรัตน์. (2529). หลักการผลิตสัตว์โดยภาพถ่าย. ศูนย์หนังสือสมาคมศิษย์เก่า มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.กรุงเทพมหานคร. 
สุวิทย์ เฑียรทอง. (2536). หลักการเลี้ยงสัตว์. โอเดียนสโตร์. กรุงเทพมหานคร.
 
1.  มาตรฐานฟาร์มปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์  2.  สถิติการผลิต การบริโภค และการจำหน่าย ปศุสัตว์ของไทยและต่างประเทศ
www.public.iastate.edu/~mwps_dis/mwps.../bf_plans.html  www.dld.go.th/home/stat_L3.html  www.moac.go.th/builder/.../show_info_detail.php?cate=4... 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชาโดยนักศึกษา ดำเนินการดังนี้  -แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาที่จัดทำโดยมหาวิทยาลัย  -การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการจัดการเรียนการสอนระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้  - ผลการทดสอบของนักศึกษา  - ผลงานของนักศึกษา (ผลสำเร็จและคุณภาพของงานมอบหมาย)
 
-สัมมนาการจัดการเรียนการสอน  -การวิจัยในชั้นเรียน
-ทวนจากคะแนนสอบ และรายงาน
 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชาได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น